Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/320
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Vichuvadee Suriyawong | en |
dc.contributor | วิชุวดี สุริยวงศ์ | th |
dc.contributor.advisor | Suwat Junsuwan | en |
dc.contributor.advisor | สุวัฒน์ จุลสุวรรณ์ | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2019-10-02T07:20:43Z | - |
dc.date.available | 2019-10-02T07:20:43Z | - |
dc.date.issued | 30/5/2019 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/320 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | This study aimed to 1) study the indicators of components of students’ Self Esteem of Fasai Wittaya school, 2) study the current state and desirable state of enhance students’ self esteem of Fasai Wittaya school, 3) development the enhance guidelines of students’ self esteem of Fasai Wittaya School, Special Education Bureau. The study were divided into 3 phases, the first phase was study indicators of components of students’ Self Esteem of Fasai Wittaya school, suitability assessment by 5 luminaries, the second phases was study the current state and desirable state of enhance students’ self esteem of Fasai Wittaya school, collected data from 30 persons were administrator and 29 teachers and employees of Fasai Wittaya school in academic year 2017, the third phases was development the enhance guidelines of students’ self Esteem of Fasai Wittaya school, Special Education Bureau, investigated suitability and possibility of guidelines by 5 luminaries. Descriptive statistics used in this study were mainly percentage, mean, and modified priority needs index. The result were found: 1. The student’s public mind component synthesized including 2 components 7 sub-components were 1) self esteem from self including 4 sub-components were 1.1) Self-understanding and self-image satisfaction 1.2) Emotional management 1.3) strive and endeavor 1.4) strength and endure, 2) self esteem from other's acceptance have 3 sub-components were 2.1) family state and family members 2.2) good friend role 2.3) role of good members of society. The result of self esteem’s components suitability assessment overall at high levels, the both main components have overall at high levels, 1 sub-component have suitability assessment at highest level and 6 sub-component have suitability assessment at high levels. 2. The result of current state of enhance students’ self esteem of Fasai Wittaya school were found the current state overall at high level, when considering each components were found the opinion about the current state overall at high levels. The result of desirable state of enhance students’ self esteem of Fasai Wittaya school were found the desirable state overall at highest level, when considering each components were found the desirable state at highest levels in 4 components and the opinion about desirable state at high levels in 3 components. 3. The Enhance Guidelines of Students’ Self Esteem of Fasai Wittaya School, Special Education Bureau including 2 components 7 sub-components 41 Guidelines. The result of suitability and possibility assessment of the enhance guidelines of students’ self esteem of Fasai Wittaya school, Special Education Bureau overall at high levels, the guidelines has suitability all aspects at high levels, mean sorting by descending as follows: emotional management, strength and endure, and strive and endeavor. The result of possibility assessment of the enhance guidelines of students’ self esteem of Fasai Wittaya school, Special Education Bureau were found the possibility of guidelines overall at high level, 1 sub-components have the possibility assessment at highest level and 6 sub-components at high levels, mean sorting by descending as follows: family state and family members, good friend role, and Self-understanding and self-image satisfaction. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดการนับถือตนเองของนักเรียนโรงเรียนฟ้าใสวิทยา 2) ศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์การเสริมสร้างการนับถือตนเอง 3) พัฒนาแนวทางการเสริมสร้างการนับถือตนเองของนักเรียนโรงเรียนฟ้าใสวิทยา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ การวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 ศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดการนับถือตนเองของ ตรวจสอบความเหมาะสมโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ระยะที่ 2 ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการเสริมสร้างการนับถือตนเองของนักเรียน เก็บข้อมูลจากประชากร ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากร โรงเรียนฟ้าใสวิทยา ปีการศึกษา 2560 จำนวน 30 คน จำแนกเป็นผู้บริหารสถานศึกษา 1 คน ครูและบุคลากร 29 คน รวม 30 คน ระยะที่ 3 พัฒนาแนวทางการเสริมสร้างการนับถือตนเองของนักเรียนโรงเรียนฟ้าใสวิทยา สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทาง โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์หาค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการสังเคราะห์องค์ประกอบและตัวชี้วัดของการนับถือตนเอง ประกอบด้วย 2องค์ประกอบหลัก 7 องค์ประกอบย่อย คือ 1) ความรู้สึกมีคุณค่าที่เกิดจากตนเอง มี 4 องค์ประกอบย่อย คือ 1.1) การเข้าใจตนเองและพึงพอใจในภาพลักษณ์ของตนเอง 1.2) การจัดการทางอารมณ์ 1.3) ความมุ่งมั่นและเพียรพยายามเพื่อความสำเร็จ 1.4) ความเข้มแข็งและความอดทน 2) ความรู้สึกมีคุณค่าที่เกิดจากการยอมรับของผู้อื่น มี 3 องค์ประกอบย่อย คือ 2.1) สภาพครอบครัวและสมาชิกในครอบครัว 2.2) บทบาทของเพื่อนที่ดี 2.3) บทบาทของสมาชิกที่ดีของสังคม ผลการประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบการนับถือตนเอง โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก โดยองค์ประกอบหลักทั้ง 2 องค์ประกอบมีความเหมาะสม โดยรวมอยู่ในระดับมาก องค์ประกอบย่อยมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด 1 องค์ประกอบ และมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 6 องค์ประกอบ 2. ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันการเสริมสร้างการนับถือตนเองของนักเรียนโรงเรียนฟ้าใสวิทยา พบว่า สภาพปัจจุบันโดยรวมมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายองค์ประกอบ พบว่า มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัจจุบันอยู่ในระดับมากทุกองค์ประกอบ ผลการศึกษาสภาพที่พึงประสงค์การเสริมสร้างการนับถือตนเองของนักเรียนโรงเรียนฟ้าใสวิทยา พบว่า สภาพที่พึงประสงค์โดยรวมมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายองค์ประกอบ พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด 4 องค์ประกอบ และมีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพที่พึงประสงค์อยู่ในระดับมาก 3 องค์ประกอบ 3. แนวทางเสริมสร้างการนับถือตนเองของนักเรียนโรงเรียนฟ้าใสวิทยา สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบหลัก 7 องค์ประกอบย่อย 41 แนวทาง ผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางการเสริมสร้างการนับถือตนเองของนักเรียนโรงเรียนฟ้าใสวิทยา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ โดยรวม พบว่า แนวทางมีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีความเหมาะสมในระดับมากทุกด้าน สามารถเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้ดังนี้ การจัดการทางอารมณ์ ความเข้มแข็งและความอดทน และความมุ่งมั่นและเพียรพยายามเพื่อความสำเร็จ ผลการประเมินความเป็นไปได้ของแนวทางการเสริมสร้างการนับถือตนเองของนักเรียนโรงเรียนฟ้าใสวิทยา สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ โดยรวม พบว่า แนวทางมีความเป็นไปได้โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีความเป็นไปได้ในระดับมากที่สุด 1 ด้าน และในระดับมาก 6 ด้าน สามารถเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยสามลำดับแรก ได้ดังนี้ สภาพครอบครัวและสมาชิกในครอบครัว บทบาทของเพื่อนที่ดี และการเข้าใจตนเองและพึงพอใจในภาพลักษณ์ของตนเอง | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การพัฒนาแนวทาง | th |
dc.subject | แนวทางเสริมสร้าง | th |
dc.subject | การนับถือตนเอง | th |
dc.subject | Development Guidelines | en |
dc.subject | Enhance Guidelines | en |
dc.subject | Self Esteem | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | Development the Enhance Guidelines of Students' Self Esteem of Fasai Wittaya School, Special Education Bureau | en |
dc.title | การพัฒนาแนวทางการเสริมสร้างการนับถือตนเองของนักเรียนโรงเรียนฟ้าใสวิทยา สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
57030580042.pdf | 1.61 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.