Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/327
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAnongnat Khenphoen
dc.contributorอนงค์นาถ เคนโพธิ์th
dc.contributor.advisorPacharawit Chansirisiraen
dc.contributor.advisorพชรวิทย์ จันทร์ศิริสิรth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-10-02T07:24:09Z-
dc.date.available2019-10-02T07:24:09Z-
dc.date.issued20/6/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/327-
dc.descriptionDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.descriptionการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.abstractThe objectives of this study were 1) to study the composition, indicators of supervision to strengthen. The performance of learning in primary school 2) to develop the model of supervision to strengthen performance management learn in elementary schools. And the 3) to study the introduction of a form of communication to enhance learning in primary schools to use. The research and development process is divided into three phases: Phase 1 studies component. And a measure of supervision to enhance learning in primary schools. To study and analyze the composition of the synthesis document and related research. Depth interviews School and education with excellence practices (Best Practices) by means of a target-specific (Purposive Sampling) and there is no indication in the selection process. The instruments include: Synthetic papers, interviews Phase 2 development model of supervision to enhance learning in primary schools to develop a model for supervision of supervision to enhance learning in primary schools. With quality monitoring, as appropriate. Feasibility and useful form of communication developed by the seminar, according to experts (Connoisseur ship) were used as validation and verification bodies formed to oversee the development of the Phase 3 evaluation forms. Supervision to enhance learning in primary schools. To study whether the introduction of a form of communication that is developed to Ban Khun Dan who is the target audience. To be specific (Purposive Sampling) are any indication. And an overview of the Supervisory Model developed. The statistics used for data analysis were percentage, average, and standard deviation. To be specific (Purposive Sampling) are any indication. And an overview of the Supervisory Model developed. The statistics used for data analysis were percentage, average, and standard deviation. To be specific (Purposive Sampling) are any indication. And an overview of the Supervisory Model developed. The statistics used for data analysis were percentage, average, and standard deviation. The results were as follows: 1. component and a measure of supervision to enhance learning in primary schools, divided into 4 main elements 12 indicators, including : 1) Relationship with 3 Indicators 2) Organize Culture with 3 indicators 3) Action with 3 indicators and 4) Development from Assessment with 3 indicators. the measure is a form of supervision ROAD. 2. Supervision Model to enhance learning in primary schools developed a ROAD appropriate. Feasibility and benefits. At a high level. 3. The results of the model of supervision to enhance learning in primary schools developed as follows ROAD.      3.1 Learning Workshop (Training) found that the development of knowledge. Understanding regarding the supervision of a learning experience developed. Through the evaluation criteria, all of which have scored after development above pre-developed.      3.2 Effective learning practices (Learning by Practice) that affect the ability of teachers overall level of improvement, and affect the ability of the supervisory overview at a good level.      3.3 Effect of Supervisory model a ROAD overall level. Supervisory Model A ROAD stands on principle. A systematic supervision process under the organization of assistance. Mithra faith and support each other in a systematic way. Cause performance management, learning the language.  en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์1) ศึกษาองค์ประกอบ ตัวชี้วัดการนิเทศเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนประถมศึกษา 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการนิเทศเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนประถมศึกษา และ 3) เพื่อศึกษาผลการนำรูปแบบการนิเทศเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนประถมศึกษาไปใช้ โดยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบ และตัวชี้วัดการนิเทศเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนประถมศึกษา เป็นการศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบด้วยการสังเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์เชิงลึก และการศึกษาโรงเรียนที่มีแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ โดยมีวิธีการเลือกกลุ่มเป้าหมายแบบเจาะจง และมีข้อบ่งชี้ในการคัดเลือก เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสังเคราะห์เอกสาร แบบสัมภาษณ์ ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการนิเทศเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนประถมศึกษาเป็นการพัฒนารูปแบบการนิเทศการนิเทศเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนประถมศึกษา ด้วยการตรวจสอบคุณภาพความเหมาะสม ความเป็นไปได้และเป็นประโยชน์รูปแบบการนิเทศที่พัฒนาขึ้นโดยการสัมมนาอ้างอิงผู้เชี่ยวชาญ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบตรวจสอบและยืนยันร่างรูปแบบการนิเทศที่พัฒนาขึ้น ระยะที่ 3 การประเมินผลการใช้รูปแบบการนิเทศเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนประถมศึกษา เป็นการศึกษาผลการนำรูปแบบการนิเทศที่พัฒนาขึ้นไปใช้กับโรงเรียนบ้านขุนด่านซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมาย ที่ได้มาแบบเจาะจงแบบมีข้อบ่งชี้ และเป็นการสรุปภาพรวมของการใช้รูปแบบการนิเทศที่พัฒนา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยเป็นดังนี้ 1. องค์ประกอบและตัวชี้วัดของการนิเทศเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนประถมศึกษา แบ่งได้ 4 องค์ประกอบหลัก 12 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) ด้านการสร้างปฏิสัมพันธ์ มี 3 ตัวชี้วัด 2) ด้านวัฒนธรรมองค์กร มี 3 ตัวชี้วัด 3) ด้านการปฏิบัติ มี 3 ตัวชี้วัด และ 4) การประเมินสู่การพัฒนา มี 3 ตัวชี้วัด ได้เป็นรูปแบบการนิเทศแบบ ROAD 2. รูปแบบการนิเทศเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนประถมศึกษาที่พัฒนาขึ้นแบบ ROAD มีความเหมาะสม ความเป็นไปได้และเป็นประโยชน์ อยู่ในระดับมาก 3. ผลการใช้รูปแบบการนิเทศเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนประถมศึกษาที่พัฒนาขึ้นแบบ ROAD ดังนี้      3.1 ผลการเรียนรู้โดยการอบรมเชิงปฏิบัติการ พบว่า ผู้ร่วมพัฒนามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการนิเทศการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกคน ซึ่งมีคะแนนหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนา      3.2 การสังเกตชั้นเรียน ที่ส่งผลต่อความสามารถของผู้สอน ภาพรวมอยู่ในระดับปรับปรุง และส่งผลถึงความสามารถของผู้นิเทศ ภาพรวมอยู่ในระดับดี      3.3 ผลของการใช้รูปแบบการนิเทศแบบ ROAD ภาพรวมอยู่ในระดับมาก รูปแบบการนิเทศแบบ ROAD ตั้งอยู่บนหลักการ กระบวนการนิเทศอย่างเป็นระบบภายใต้วัฒนธรรมองค์กรแห่งความช่วยเหลือ เกื้อกูลและศรัทธราซึ่งกันและกันอย่างเป็นระบบ ทำให้เกิดสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ด้านภาษาth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนารูปแบบการนิเทศth
dc.subjectสมรรถนะการจัดการเรียนรู้th
dc.subjectInstructional Supervision Modelen
dc.subjectLearning Management Competenciesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development Supervision Model to Enhance Learning Management Competency in Primary Schoolsen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการนิเทศเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนประถมศึกษาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58010566007.pdf5.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.