Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/334
Title: The Development of Early Chilhood Teacher Development program on Whole Language Approach for Schools Under Kalasin Primary Educational Service Area Office 2
การพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูปฐมวัยในการจัดประสบการณ์ทางภาษาแบบองค์รวมสำหรับสถานศึกษา  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธ์ุ เขต 2
Authors: Kunchiraphon Shivakonphurihiran
กุลจิราภรณ์ ศิวะกรภูริหิรัญ
Thatchai Chiranun
ธัชชัย จิตรนันท์
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: การจัดประสบการณ์
ภาษาองค์รวม
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2
Teaching
Whole Language Approach
Kalasin Primary Educational Service Area Office 2
Issue Date:  28
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The objectives of this research were : 1) to study the elements and indicators of Early Childhood Teacher Development on Whole Language Approach for Schools Under Kalasin Primary Educational Service Area Office 2, 2) to study current condition and desirable condition of Early Childhood Teacher Development on Whole Language Approach for Schools Under Kalasin Primary Educational Service Area Office 2, and  3) to offer an Early Childhood Teacher Development Program on Whole Language Approach for Schools Under Kalasin Primary Educational Service Area Office 2. Research and Development was conducted including 3 phases; phase 1 : studying of elements and indicators of Early Childhood Teacher Development on Whole Language Approach for Schools Under Kalasin Primary Educational Service Area Office 2, validated by 7 experts, phase 2 : studying of current condition and desirable condition of Early Childhood Teacher Development on Whole Language Approach for Schools Under Kalasin Primary Educational Service Area Office 2, 152 early childhood teachers, phase 3 : the development of early childhood teacher development program on Whole Language Approach for Schools Under Kalasin Primary Educational Service Area Office 2, confirmed by 7 experts. The research tools were the questionnaire, interview and evaluation form. The statistics used for data analysis consisted of the Percentage, Mean, Standard Deviation and Modified Priority Needs Index (PNImodified) The research findings were as follows : 1. The elements of early childhood teacher development on Whole Language Approach for Schools Under Kalasin Primary Educational Service Area Office 2, consisted of 6 elements and 24 indicators, validated by 7 experts, in overall, were in the highest level. 2. The current condition of early childhood teacher development on Whole Language Approach for Schools Under Kalasin Primary Educational Service Area Office 2 was in high level and the desirable condition, in overall, was in the highest level. 3. The developed program, an Early Childhood Teacher Development Program on Whole Language Approach for Schools Under Kalasin Primary Educational Service Area Office 2, consisted of program elements including: 1) the rationale and approach of program, 2) the objectives of program, 3) goal of program, 4) content and activities : 4.1) the learning objective determination, 4.2) the consideration of early childhood student readiness, 4.3) the content determination, 4.4) experience activity management, 4.5) evaluation, and 4.6) feedback for 118 hours. The development techniques were training and self-development. The development was implemented by 4 steps including: step 1) pre-development assessment, 2) the development, 3) the integration during working, 4) post-development assessment, and 5) program assessment . The results of assessment by the qualified experts found that the utility, the feasibility and the propriety were in the highest level.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัด การพัฒนาครูปฐมวัยในการจัดประสบการณ์ทางภาษาแบบองค์รวมสำหรับสถานศึกษา  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2  2) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพอันพึงประสงค์ การพัฒนาครูปฐมวัยในการจัดประสบการณ์ทางภาษาแบบองค์รวมสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2  3) เสนอโปรแกรมการพัฒนาครูปฐมวัย ในการจัดประสบการณ์ทางภาษาแบบองค์รวมสำหรับสถานศึกษา  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2การดำเนินการวิจัยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนาแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ประกอบด้วย ระยะที่ 1  การศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัด การพัฒนาครูปฐมวัยในการจัดประสบการณ์ทางภาษาแบบองค์รวมสำหรับสถานศึกษา  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2  ยืนยันโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 7 คน  ระยะที่ 2 การศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพอันพึงประสงค์ การพัฒนาครูปฐมวัยในการจัดประสบการณ์ทางภาษาแบบองค์รวมสำหรับสถานศึกษา  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2   จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็น ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้การศึกษาปฐมวัย จำนวน 152 คน  และระยะที่ 3 การพัฒนาโปรแกรมการพัฒนาครู ในการจัดประสบการณ์ทางภาษาแบบองค์รวมสำหรับสถานศึกษา  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2ยืนยันโดยผู้ทรงคุณวุฒิ  7  คน  เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล  ได้แก่  แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์  และแบบประเมิน  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเทคนิค Modified Priority Needs Index (PNIModified) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. องค์ประกอบการพัฒนาครูปฐมวัยในการจัดประสบการณ์ทางภาษาแบบองค์รวมสำหรับสถานศึกษา  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2  ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ  24  ตัวชี้วัด  ยืนยันโดยผู้ทรงคุณวุฒิ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2. สภาพปัจจุบันการพัฒนาครูปฐมวัยในการจัดประสบการณ์ทางภาษาแบบองค์รวมสำหรับสถานศึกษา  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2  โดยรวมอยู่ในระดับมาก  และสภาพที่พึงประสงค์โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 3. โปรแกรมการพัฒนาครูในในการจัดประสบการณ์ทางภาษาแบบองค์รวมสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2  ที่พัฒนาขึ้นมีองค์ประกอบของโปรแกรม ได้แก่  1) หลักการของโปรแกรม  2) วัตถุประสงค์ของโปรแกรม 3) เป้าหมายของโปรแกรม  4) เนื้อหาและกิจกรรมพัฒนาของโปรแกรม  ประกอบด้วย 6 Module  คือ 4.1) การกำหนดจุดมุ่งหมายการจัดประสบการณ์ 4.2) การพิจารณาความพร้อมของเด็กปฐมวัย 4.3) การกำหนดเนื้อหา 4.4) การจัดกิจกรรมประสบการณ์ 4.5) การประเมินผล และ 4.6) ข้อมูลป้อนกลับใช้ระยะเวลา  118  ชั่วโมง  วิธีการพัฒนา ได้แก่ การอบรม และการพัฒนาตนเองโดยดำเนินการพัฒนา 4  ขั้น ได้แก่ ขั้นที่ 1 การประเมินก่อนการพัฒนา ขั้นที่ 2 การพัฒนา ขั้นที่ 3การบูรณาการระหว่างปฏิบัติงาน และขั้นที่ 4 การประเมินหลังการพัฒนา  และ 5) การประเมินผลโปรแกรม  ผลการประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิ  พบว่า  ความเป็นประโยชน์  ความเป็นไปได้และความเหมาะสม โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
Description: Master of Education (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/334
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58010586006.pdf3.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.