Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/338
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPorntip Chutriraten
dc.contributorภรณ์ทิพย์  ชูไตรรัตน์th
dc.contributor.advisorPachoen Kidrakarnen
dc.contributor.advisorเผชิญ กิจระการth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-10-02T07:26:49Z-
dc.date.available2019-10-02T07:26:49Z-
dc.date.issued1/10/2018
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/338-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research aim to 1) study the factor and the learning indicator of learning management focusing on Sufficiency Economy integration in the Department of Social Studies, Religion and Culture for schools under the jurisdiction of the Secondary Educational Service Area Office 25 2) study the current circumstance and the satisfactory characteristic to develop teachers’ learning management focusing on Sufficiency Economy integration in the Department of Social Studies, Religion and Culture for schools under the jurisdiction of the Secondary Educational Service Area Office 25 and 3) develop the program of teachers’ learning management and the research was divided into three phases as following: the first phase consisted of the study of factors and indicators in learning management integrating with Sufficiency Economy by five qualified persons. The second phase comprised the study of current circumstance and satisfactory characteristic to develop teachers’ learning management focusing on Sufficiency Economy and the samples consisted of school administrators and teachers from the Department of Social Studies, Religion and Culture totaling 363 samples and The third phase was composed of the development of the program of teachers’ learning management by five qualified persons. The research statistical tools used for qualitative data were composed of Index of Item – Objective Congruence (IOC), discrimination, correlation coefficient interpretation, and coefficient Alpha of reliability. Basic statistics used in the research analysis for the result of the study of current circumstance and satisfactory characteristic consisted of frequency, standard deviation, modified priority index and hierarchy of needs. The results found that;                              1. The factors of learning management integrated by Sufficient Economy in the Department of Social Studies, Religion and Culture for schools under the jurisdiction of the Secondary Educational Service Area Office 25, consisting of five factors consisting of 1) objective specification 2) teaching planning 3) content        specification 4) teaching management 5) learning evaluation.                               2. The whole image of current circumstances for learning management was at satisfied level in every aspect and the satisfactory characteristics were at very satisfied level. The development approaches of teachers’ learning management focusing on Sufficient Economy integration were applied in three methods as following 1) educational workshops 2) additional educational training courses and 3) mentoring.                             3. The program of teachers’ learning management focusing on Sufficiency Economy integration.                                                                                   3.1 Modified priority index of the program of teachers’ learning management focusing on Sufficiency Economy integration, it was arranged by hierarchy of needs respectively as followings: 1) learning evaluation 2) teaching planning and 3) teaching process respectively.                                              3.2 The program of teachers’ learning management focusing on Sufficiency Economy integration, it consisted of the factors as followings: 1) rational and importance 2) objectives 3) contents 4) activities and developmental tools and 5) evaluation.                                                                                                3.3 The evaluation of the program of teachers’ learning management focusing on Sufficiency Economy integration in the whole image, the appropriateness of the program was very satisfied and the possibility of the program was also very satisfied.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดการจัดการเรียนรู้ โดยบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 25 2) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์การพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ 3) พัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูในการจัดการ ในการวิจัยสามารถแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดการจัดการเรียนรู้ โดยบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 25 ตรวจสอบความเหมาะสมขององค์ประกอบ การจัดการเรียนรู้ โดยการบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ระยะที่ 2 การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพพึงประสงค์ของการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ โดยการบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รวมทั้งสิ้นจำนวน 363 คน และระยะที่ 3 การพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ ประเมินโปรแกรมโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัยหาคุณภาพเครื่องมือ ได้แก่ ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ค่าอำนาจจำแนก โดยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สัมประสิทธิ์แอลฟา สถิติพื้นฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีความต้องการจำเป็นและจัดลำดับความต้องการ ผลการวิจัยพบว่า                                                   1. องค์ประกอบของการจัดการเรียนรู้ โดยบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 25 ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การกำหนดวัตถุประสงค์ 2) การวางแผนการสอน 3) การกำหนดเนื้อหา 4) การดำเนินการสอน 5) การประเมินผลการเรียนรู้                                                                                 2. สภาพปัจจุบันของจัดการเรียนรู้ โดยบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน และมีสภาพที่พึงประสงค์โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด วิธีการในการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ โดยบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใช้วิธีการพัฒนาครู 3 วิธี ได้แก่ 1) การประชุมเชิงปฏิบัติการ 2) การอบรมเพื่อเพิ่มความรู้ และ 3) การเป็นพี่เลี้ยง                                                                                                                     3. การพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ โดยบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง                                                                                                                3.1 ค่าดัชนีความต้องการจำเป็นในการพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ โดยบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยเรียงลำดับความต้องการจำเป็นในการพัฒนา 3 ลำดับ คือ 1) การประเมินผลการเรียนรู้ 2) การวางแผนการสอน และ 3) การดำเนินการสอน ตามลำดับ                                                                                   3.2 การพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ โดยบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีส่วนประกอบดังนี้ 1) หลักการและความสำคัญ 2) วัตถุประสงค์3)เนื้อหา 4) กิจกรรมและเครื่องมือพัฒนา และ 5) การประเมินผล                                                                                                                   3.3 การประเมินโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด และความเป็นไปได้ของโปรแกรมอยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectโปรแกรมพัฒนาครูth
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการth
dc.subjectปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงth
dc.subjectTeacher Strengthen Programen
dc.subjectSufficiency Economyen
dc.subjectLearning Management Integrationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment of a Program to Strengthen Teachers’ Learning Management Focusing on Sufficiency Economy Integration in the  Department of Social Studies, Religion and Culture for Schools under the Jurisdiction of the Secondary Educational Service Area  Office 25en
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้ โดยบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25  th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58010586027.pdf4.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.