Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/346
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Kunthida Phungthaisong | en |
dc.contributor | กุลธิดา พุงไธสง | th |
dc.contributor.advisor | Chowwalit Chookhampaeng | en |
dc.contributor.advisor | ชวลิต ชูกำแพง | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2019-10-02T07:29:18Z | - |
dc.date.available | 2019-10-02T07:29:18Z | - |
dc.date.issued | 25/4/2019 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/346 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | The research was interested in adopting the ideafordeveloping level Critical Thinking for Matthayomsueksa 5 students and To compare the learning pre-test and post-test for Matthayomsueksa 5 students by using James McKernan’s time cycle process of the action research model. The target group of this study were 29 Matthayomsueksa 5 students from Naphoopittayakhom School, Yang Sisurat District, Mahasarakham Province, under Office of Educational Matthayomsueksa Service Area Zone 26, who were studying at the second semester of the academic year 2018, retrieved by the purposive sampling technique. The instrument was the learning of the development Critical Thinking 7 lesson plans, Critical Thinking set,Observation, andAchievement Test. They acted in three cycles and there were 8 steps in each cycle ; namely, 1) identifying problem, 2) analyzing needs, 3) setting hypotheses for problem solution, 4) developing plan, 5) acting on plan, 6) evaluating actions on plan, 7) giving feedback, making understanding and explaining and 8) making decision on further actions of the next time cycle. The results are as follows 1) Critical Thinking for Matthayomsueksa 5 students by using the process James McKernan’s time cycle action research in the first time cycle; the students improved their Critical Thinking that past 70 percentage. The students were 26 and Did not pass the Critical Thinking this study were 3most of the students were skill required of development Therefore, the second time cycle was the students improved their Critical Thinking that past 70 percentage. The students were 26 and Did not pass the Critical Thinking this study were 3 Because of the emphasis on group activities. Students cooperation and Discussions of joint exercises. 2) The results indicated that the students improved their Critical Thinking. It appears that in pre test. total score 821 score , average 20.53 for 40 score, Standard deviation2.39, 70.73 percentage and post test total score 971 score , average 24.48 for 40 score, Standard deviation2.43, 83.71 percentage. It signifies that students had Critical Thinking score that post test was significantly higher than pre test. | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาระดับการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 และ 2) เพื่อเปรียบเทียบการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้กระบวนการวิจัยปฏิบัติการ รูปแบบวงจรลำดับเวลาของเจมส์ แมคเคอร์แนน (James McKernan) กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนนาภูพิทยาคม อำเภอ ยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 29 คน โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จำนวน 7 แผน แบบประเมินระดับการคิดอย่างมีวิจารณญาณ แบบสังเกตพฤติกรรม และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปฏิบัติการ 2 วงจรโดยแต่ละวงจร ดำเนินการ 8 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นกำหนดปัญหา 2) ขั้นประเมินความต้องการจำเป็น 3) ขั้นกำหนดสมมติฐาน ทางความคิดในการแก้ปัญหา 4) ขั้นพัฒนาแผนปฏิบัติการ 5) ขั้นดำเนินการตามแผนการที่วางไว้ 6) ขั้นประเมิน ผลการปฏิบัติการตามแผน 7) ขั้นสะท้อนผล ทำความเข้าใจ อธิบาย 8) ขั้นตัดสินใจเพื่อดำเนินการในวงจรลำดับ เวลาต่อไป ผลการวิจัยพบว่า 1) การคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้กระบวนการวิจัยปฏิบัติการ รูปแบบวงจรลำดับเวลาของเจมส์ แมคเคอร์แนน (James McKernan) ปฏิบัติการรูปแบบวงจรลำดับเวลา วงรอบที่ 1 พบว่า มีนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์ประเมิน ร้อยละ 70 จำนวน 26 คน และไม่ผ่านเกณฑ์ จำนวน 3 คน เนื่องจากนักเรียนขาดความเข้าใจกระบวนการเรียนรู้ที่ต่อเนื่องและความละเอียดลออในการคิด ในวงรอบที่ 2 พบว่า มีนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์ประเมินการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ร้อยละ 70 จำนวน 26 คน และไม่ผ่านเกณฑ์ประเมินการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ร้อยละ 70 จำนวน 3 คน เมื่อเน้นกิจกรรมกลุ่ม นักเรียนเกิดความร่วมมือและปรึกษาหารือในการร่วมกันทำแบบฝึกทักษะ 2) ผลการเปรียบเทียบการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนขั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 พบว่า คะแนนเฉลี่ย 20.53 จาก 40 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 2.39 คิดเป็นร้อยละ 70.73 และคะแนนเฉลี่ย 24.48 จาก 40 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 2.43 คิดเป็นร้อยละ 83.71 แสดงว่า นักเรียนมีความคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังเรียนสูงขึ้นทุกคน | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | เจมส์ แมคเคอร์แนน (Jame Mckernan) | th |
dc.subject | วิจัยปฏิบัติการรูปแบบวงจรลำดับเวลา | th |
dc.subject | นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 | th |
dc.subject | (Jame Mckernan) | en |
dc.subject | Jame Mckernan's Time Cycle Process of the Action Research Model | en |
dc.subject | Matthayomsueksa 5 | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | Development of MattayomSuksa 5 Students Critical Thinking by use of James McKernan’s Time Cycle Process of the Action Research | en |
dc.title | การพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้กระบวนการวิจัยปฏิบัติการ รูปแบบวงจรลำดับเวลาของเจมส์ แมคเคอร์แนน (James McKernan) | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59010552008.pdf | 3.77 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.