Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/351
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorThana Thusriwanen
dc.contributorธนา  ธุศรีวรรณth
dc.contributor.advisorChowwalit Chookhampaengen
dc.contributor.advisorชวลิต ชูกำแพงth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-10-02T07:29:19Z-
dc.date.available2019-10-02T07:29:19Z-
dc.date.issued9/3/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/351-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to 1) study basic information, theory, coaching mindset and coaching condition to promote teaching and learning skills in the 21st century in-service teachers, 2) develop the coaching model to enhance 21st century learning management skills of in-service teachers, and 3) study the results of the coaching model to enhance in-service teachers in the 21st century learning management skills as follows: 3.1 to compare the learning management skills of in-service teachers before and after using the guiding Coaching model, and 3.2 to compare learning achievement and learning skills in the 21st century of students before and after using the guiding Coaching model. The research was conducted in 3 phases. The first phase was to study the basic information. The samples consisted of 258 in-service teachers teaching at cluster 4 under the Secondary Educational Service Area Office 29 by using stratified random sampling. The important informants were composed of 6 administrators and 5 experts by using purposive sampling random. The second phase was to develop the coaching model. The targets were 3 in-service teachers teaching at cluster 2 and 90 students. The important informants were 7 experts. The third phase was to study the results of the coaching model. The samples were 6 in-service teachers teaching at cluster 4 selected by using purposive sampling technique and 180 students by using cluster random sampling technique. The instruments were questionnaire, interview, observation forms, evaluation forms, checklist form, journal writing, and reflective writing. The statistics used for data analysis were percentage, arithmetic mean, standard deviation, t-test dependent samples and content analysis. The research findings were as follows: The first phase was studying the basic information revealed 2 aspects. Theory and concept about the development of coaching model to enhance 21st century learning management skills in-service teachers were instruction coaching, solution-focused coaching, peer coaching, reflection and PLC. Coaching conditions to promote teaching and learning skills in the 21st century in-service teachers found that present condition in overall was at low level of practice. The second phase was building and developing the coaching model. It composed of 4 elements; 1) principle of model, 2) objective of model, 3) process of coaching, and 4) support system. The result of checking model draft was found at high level (X̄=4.34, S.D.=0.13). The IOC model development was at 0.5-1.00. It was in practical criteria. The third phase was studying the results of the coaching model; 1) After using the coaching models, all teachers had higher teaching and 21st century learning management skills. In addition, 2) the post-learning achievement of the students was higher than that of the pre-learning achievement at .01 level of significance.  en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน ทฤษฎี แนวคิดเกี่ยวกับการชี้แนะและสภาพการชี้แนะเพื่อส่งเสริมทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สำหรับครูระดับมัธยมศึกษา 2) พัฒนารูปแบบการชี้แนะเพื่อส่งเสริมทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สำหรับครูระดับมัธยมศึกษา 3) ศึกษาผลของการใช้รูปแบบการชี้แนะเพื่อส่งเสริมทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สำหรับครูระดับมัธยมศึกษา ได้แก่ 3.1 เปรียบเทียบทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูผู้รับการชี้แนะก่อนและหลังการใช้รูปแบบการชี้แนะเพื่อส่งเสริมทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และ 3.2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนก่อนและหลังการใช้รูปแบบการชี้แนะเพื่อส่งเสริมทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยดำเนินการวิจัยออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนโรงเรียนในสหวิทยาเขต 4 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 จำนวน 258 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหาร จำนวน 6 คน และผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน ได้มาโดยการคัดเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการชี้แนะ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ครูผู้สอนโรงเรียนในสหวิทยาเขต 2 จำนวน 3 คน และนักเรียน จำนวน 90 คน และกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 7 คน ระยะที่ 3 ศึกษาผลของการใช้รูปแบบการชี้แนะ กลุ่มตัวอย่างคือ ครูผู้สอนโรงเรียนในสหวิทยาเขต 4 จำนวน 6 คน ได้มาโดยการคัดเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา จำนวน 180 คน โดยใช้วิธีสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต แบบตรวจสอบรายการ แบบประเมิน แบบบันทึก (Journal Writing) แบบสะท้อนการจัดการเรียนรู้ (Reflective Writing) และแบบบันทึกหลังปฏิบัติงาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (X̄) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่า (t-test) แบบ Dependent Samples และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัย พบว่า ระยะที่ 1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน 1.1) ทฤษฎี แนวคิดเกี่ยวกับการชี้แนะเพื่อส่งเสริมทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สำหรับครูระดับมัธยมศึกษา ประกอบด้วย การชี้แนะการสอน การชี้แนะการแก้ปัญหา การชี้แนะแบบเพื่อนช่วยเพื่อน การสะท้อนผลและชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ 1.2) สภาพการชี้แนะเพื่อส่งเสริมทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สำหรับครูระดับมัธยมศึกษา พบว่า สภาพปัจจุบันด้านการชี้แนะการส่งเสริมทักษะการจัดการเรียนรู้และด้านการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ครูระดับมัธยมศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับปฏิบัติน้อย ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการชี้แนะ พบว่า รูปแบบการชี้แนะเพื่อส่งเสริมทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สำหรับครูระดับมัธยมศึกษา มี 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการของรูปแบบ 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3) ขั้นตอนการชี้แนะ 4) ปัจจัยสนับสนุนและผลการตรวจสอบโครงร่างรูปแบบมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (X̄= 4.34, S.D.= 0.13) และเครื่องมือประกอบการพัฒนารูปแบบมีค่าความสอดคล้อง IOC ค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 0.5-1.00 อยู่ในเกณฑ์สามารถนำไปใช้ได้ ระยะที่ 3 ศึกษาผลของการใช้รูปแบบการชี้แนะ พบว่า 1) หลังการใช้รูปแบบการชี้แนะครูมีทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สูงขึ้นกว่าก่อนการใช้รูปแบบการชี้แนะเพื่อส่งเสริมทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ทุกคน 2) นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการใช้รูปแบบการชี้แนะสูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบการชี้แนะเพื่อส่งเสริมทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 หลังการใช้รูปแบบการชี้แนะมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบการชี้แนะเพื่อส่งเสริมทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ทุกคนth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectรูปแบบการชี้แนะth
dc.subjectทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21th
dc.subjectCoaching Modelen
dc.subject21st Century Learning Management Skillsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of Coaching Model to Enhance 21st Century Learning Management Skills In-Service Teachersen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการชี้แนะเพื่อส่งเสริมทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สำหรับครูระดับมัธยมศึกษาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59010563003.pdf3.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.