Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/358
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPhakawan Namnaien
dc.contributorผกาวัลย์ นามนัยth
dc.contributor.advisorMontree Wongsaphanen
dc.contributor.advisorมนตรี วงษ์สะพานth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-10-02T07:32:30Z-
dc.date.available2019-10-02T07:32:30Z-
dc.date.issued13/5/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/358-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to develop the learning achievement and critical problem-solving ability for the ninth grade students taught by active learning, using the action research. The objectives of the research were 1) To develop the learning achievement: Law and living for the ninth grade students taught by active learning to pass the 75 percent criteria 2) To develop the critical problem-solving ability for the ninth grade students taught by active learning to pass the 75 percent criteria. The target population was the ninth grade students; 1 classroom, Selaphumpittayakom School, Selaphum District, Roi-Et. The target population was chosen by purposive sampling with the lowest level of learning achievement and desired characteristics evaluation comparing to the other same level classrooms. The research instruments were 1) the lesson plans of the citizenship subject for the ninth grade students taught by active learning, 15 hours 2) learning achievement test 3) critical problem-solving ability test 4) statistics observation form for percentage, mean, standard deviation.  The result  all 43-ninth-grade-student can pass the learning achievement criteria at the end of the 2nd circle when they were taught by active learning of Law and Living. The average score of the learning achievement was 24.37 or 81.24 percent which passed the 75 percent criteria. The critical problem-solving ability average score measured from the test was 40.12 or 80.23 percent and from the behavior observation, all students can pass the criteria. Thus, the active learning can develop the learning achievement and critical problem-solving ability of Law and Living for the ninth grade students, according the 75 percent criteria and the research objectives. It was suitable to use to develop the students ability.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  และความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3   โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก  ด้วยกระบวนการวิจัยปฏิบัติการ  โดยมีวัตถุประสงค์ย่อย  ดังนี้  1)  เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระสังคมศึกษา  ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก  เรื่อง  กฎหมายและการดำเนินชีวิต  ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3  ให้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 75  2)  เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ  ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก  ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3  ให้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ  75  กลุ่มเป้าหมาย  ได้แก่  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3  โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม  อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด  จำนวน  1  ห้องเรียน  ได้จากการเลือกแบบเจาะจง  จากห้องเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์อยู่ในระดับต่ำที่สุด  เมื่อเทียบกับนักเรียนห้องอื่นในระดับเดียวกัน  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี  6  ชนิด  ดังนี้  1)  แผนการจัดการเรียนรู้  วิชา  หน้าที่พลเมือง  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3  โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก  จำนวน  15 ชั่วโมง   2)  แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  3)  แบบวัดการแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ  4)  แบบสังเกต  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  ผลการวิจัยปรากฏดังนี้  นักเรียนจำนวน  43  เมื่อเรียนด้วยหารจัดการเรียนรู้  เรื่อง  กฎหมายและการดำเนินชีวิต  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3  โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก  ครบทั้ง  2  วงรอบ  ผลปรากฏว่า  นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์ทุกคน  โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ  24.37  คิดเป็นร้อยละ  81.24  ซึ่งผ่านเกณฑ์ร้อยละ  75  ที่ตั้งไว้   และนักเรียนมีคะแนนความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณผ่านเกณฑ์ที่ตั้งไว้ทุกคน  โดยมีคะแนนจากแบบวัดการแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณเฉลี่ยเท่ากับ  40.12  คิดเป็นร้อยละ  80.23  และจากการแบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนมีพฤติกรรมการแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณผ่านเกณฑ์ทุกคน  แสดงว่าการจัดการเรียนรู้  เรื่อง  กฎหมายและการดำเนินชีวิต  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3  โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก  สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน  และสามารถพัฒนาการแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียนได้ตามเกณฑ์ร้อยละ  75  ตามความมุ่งหมายของการวิจัย  เหมาะที่จะนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนต่อไปth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการเรียนรู้เชิงรุกth
dc.subjectการแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณth
dc.subjectActive learningen
dc.subjectCritical problem-solving abilityen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe  Development  of  Learning Achievement : Law and Living and  Development  of  Critical  Problem-Solving  Ability,  For Ninth  Grade Students Taught by Active Learningen
dc.titleการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  เรื่อง  กฎหมายและการดำเนินชีวิต และพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3  โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59010585041.pdf2.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.