Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/36
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Polpisit Talason | en |
dc.contributor | พลพิศิษฐ์ ตาละซอน | th |
dc.contributor.advisor | Kanyarat Cojorn | en |
dc.contributor.advisor | กัญญารัตน์ โคจร | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2019-08-08T07:01:32Z | - |
dc.date.available | 2019-08-08T07:01:32Z | - |
dc.date.issued | 20/2/2019 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/36 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | The aims of this classroom action research were 1) to develop students’ Problem Solving Ability in order to pass the criteria of 70% of full score, 2) to examine the learning achievement in chemistry subject. The target group of this study contained of 19 Mattayomsuksa 6 students who were considered as limited in problem-solving ability of Mattayomyangsisurat School.The purposive sampling was used to select the target group. The classroom action research consisted of 3 cycles. Furthermore, there were two participants in this study which were the chemistry co-teacher and the teacher in department of science. The instruments employed in this study were (1) the problem-solving ability test, (2) learning achievement test in chemistry (3) observation form in students’ problem solving, (4) students’ journal, (5) reflective, (6) interview form, and (7) lesson plan. The results from classroom action research revealed that: In cycle 1, the student learning taught the Problem-Based Learning, average score of Problem Solving Ability is 5.49 or 68.64, there were 10 students or 52.63% passed their criteria of 70% of full score , The learning achievement score in chemistry subject were 8.05 or 80.53%. In cycle 2, the student learning taught the Problem-Based Learning cooperated with social media, average score of Problem Solving Ability is 5.49 or 68.64, there were 14 students or 73.68% passed their criteria of 70% of full score , The learning achievement score in chemistry subject were 7.47 or 74.74%. In cycle 3, the student learning taught the Problem-Based Learning cooperated KWL technique, average score of Problem Solving Ability is 6.31 or 78.84, there were 18 students or 94.76% passed their criteria of 70% of full score , The learning achievement score in chemistry subject were 8.05 or 80.53%. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาให้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม 2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 19 คน โดยใช้การเลือกแบบเจาะจงจากนักเรียนที่มีปัญหาความสามารถในการแก้ปัญหาของโรงเรียนมัธยมยางสีสุราช แผนวิจัยเชิงปฏิบัติการแบ่งออกเป็น 3 วงรอบ ในการวิจัยครั้งนี้มีผู้ร่วมวิจัยจำนวน 2 คน คือครูผู้สอนร่วมในรายวิชาเคมีและครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้มี 7 ชนิด ได้แก่ (1) แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา (2) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี เรื่องปิโตรเลียมและพอลิเมอร์ (3) แบบสังเกตพฤติกรรมการแก้ปัญหาของผู้เรียน (4) แบบบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ (5) อนุทิน (6) แบบสัมภาษณ์ (7) แผนการจัดการเรียนรู้ ผลการประเมินหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ครบ 3 วงรอบ ผลวิจัยพบว่า วงรอบที่ 1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน พบว่า ผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยของความสามารถในการแก้ปัญหาเท่ากับ 5.49 คิดเป็นร้อยละ 68.64 โดยมีผู้เรียนในกลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ทั้งสิ้น 10 คน คิดเป็นร้อยละ 52.63 และคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 8.05 คิดเป็นร้อยละ 80.53 วงรอบที่ 2 จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ พบว่า ผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยของความสามารถในการแก้ปัญหาเท่ากับ 5.49 คิดเป็นร้อยละ 68.64 โดยมีผู้เรียนในกลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ทั้งสิ้น 14 คน คิดเป็นร้อยละ 73.68 และคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 7.47 คิดเป็นร้อยละ 74.74 วงรอบที่ 3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิค KWL พบว่า ผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยของความสามารถในการแก้ปัญหาเท่ากับ 6.31 คิดเป็นร้อยละ 78.84 โดยมีผู้เรียนในกลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ทั้งสิ้น 18 คน คิดเป็นร้อยละ 94.74 และคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 8.05 คิดเป็นร้อยละ 80.53 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | ความสามารถในการแก้ปัญหา | th |
dc.subject | การใช้ปัญหาเป็นฐาน | th |
dc.subject | สื่อสังคมออนไลน์ | th |
dc.subject | เทคนิค KWL | th |
dc.subject | Problem-Solving Ability | en |
dc.subject | Problem-Based Learning(PBL) | en |
dc.subject | Social media | en |
dc.subject | KWL technique | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | Development of Problem-Solving Ability and Learning Achievement in Chemistry of Mathayomsuksa 6 students, Mattayomyangsisurat School | en |
dc.title | การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนมัธยมยางสีสุราช | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59010585044.pdf | 2.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.