Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/370
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWilaiwan Prommaen
dc.contributorวิไลวัลย์  พรหมมาth
dc.contributor.advisorDhanita Doungwilaien
dc.contributor.advisorดนิตา ดวงวิไลth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-10-02T07:36:06Z-
dc.date.available2019-10-02T07:36:06Z-
dc.date.issued19/5/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/370-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research purposes were: 1) To study the current condition, desirable condition of teachers in learning management according to the philosophy of sufficiency economy in schools the Office in the Secondary Education Service Area 21 2) To develop a guideline management of learning the philosophy of sufficiency economy in schools the Office in the Secondary Education Service Area 21 that divided into 2 phases, consisting of phase 1: To study current conditions desirable condition of teachers in learning management according to the philosophy of sufficiency economy in schools the Office in the Secondary Education Service Area 21. The sample consisted of the 438 administrators and teachers. They were selected through stratified random sampling Phase 2: To study a guideline management of learning the philosophy of sufficiency economy in schools that there are 3 schools gave the information about best practice. 5 experts, evaluated the appropriateness and feasibility tools for data collection using questionnaires, interview forms. The mean, percentage, standard deviation, Pierson’s simple correlation coefficient, Cronbach’s Alpha coefficient, modified priority needs index: PNI and content analysis were used in data analysis.           The research results were as followed:           1. The current condition of teachers in learning management according to the philosophy of sufficiency economy in schools the Office in the Secondary Education Service Area 21 was at a medium level and the desirable condition of teachers in learning management according to the philosophy of sufficiency economy in schools the Office in the Secondary Education Service Area 21 was at the best level.           2. There are 4 guideline managements of learning the philosophy of sufficiency economy in schools the Office in the Secondary Education Service Area 21: 1) The unit according to the philosophy of sufficiency economy, there are 8 indicators. 2) The Integration of the philosophy of sufficiency economy, there are 8 indicators. 3) The evaluation of learning management according to the philosophy of sufficiency economy there are 6 indicators.  4) The media and learning resources of sufficiency economy, there are 5 indicators. The result of study a guideline management of learning the philosophy of sufficiency economy in schools the Office in the Secondary Education Service Area 21 found that the suitability and feasibility were at a good level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ  1)เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ของครูด้านการจัดการเรียนรู้ตามหลักของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21  2)เพื่อพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21 แบ่งออกเป็น 2 ระยะ ประกอบด้วย ระยะที่ 1ศึกษาสภาพปัจจุบัน  สภาพที่พึงประสงค์ ของครูด้านการจัดการเรียนรู้ตามหลักของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 21  กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหาร และครูผู้สอน จำนวน  438 คน ใช้เทคนิคการสุ่มแบบแบ่งชั้น  ( Stratified Random  Sampling)  ระยะที่ 2 ศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา ศึกษาสถานศึกษาที่มีวีปฏิบัติที่ดีเยี่ยม (Best Practice) จำนวน 3 โรงเรียนให้ข้อมูล แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คนประเมินความเหมาสมและความเป็นไปได้ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถาม แบบประเมิน แบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายของ  เพียร์สัน สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ค่าดัชนีความต้องการจำเป็น (PNImodified) และ การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันของการพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต 21 โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และ   สภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต 21 โดยรวมอยู่ในระดับ มาก  แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต 21 มีทั้งหมด 4 ด้าน ได้แก่ 1. ด้านหน่วยการเรียนรู้ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มี 8 ตัวชี้วัด  2. ด้านการบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มี 8 ตัวชี้วัด 3. ด้านการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มี 6 ตัวชี้วัด และ 4.ด้านสื่อและแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มี 5 ตัวชี้วัด  ผลการประเมินแนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต 21 โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก   และความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก           th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงth
dc.subjectPhilosophy of Sufficiency Economyen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of a Guideline Management of Learning the Philosophy of Sufficiency Economy in Schools the Office in  the Secondary Education Service Area 21en
dc.titleการพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59030580026.pdf4.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.