Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/374
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSubpasit Srirawanen
dc.contributorสรรพสิทธิ์ ศรีระวรรณth
dc.contributor.advisorKarn Ruangmontrien
dc.contributor.advisorกาญจน์ เรืองมนตรีth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-10-02T07:36:07Z-
dc.date.available2019-10-02T07:36:07Z-
dc.date.issued23/5/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/374-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe research aimed 1) to study circumstances and desired characteristics of the Boy Scout and Girl Guide management in schools under the Secondary Educational Service Area Office 23 and 2) to develop the Boy Scout and Girl Management approach in schools under the Secondary Educational Service Area Office 23. The research was divided into two periods. The first period was comprised the study of current circumstances and desired characteristics. There were 143 samples consisting of administrators and teachers who teach Boy Scout and Girl Guide by Stratified Random Sampling. The tool used in this part was a questionnaire. The second period development of the Boy Scout and Girl Guide Management approach in schools under the Secondary Educational Service Area Office 23. There  were  5  experts  to  evaluate  the appropriateness  and  the  possibility  of develop the Boy Scout and Girl Management approach in schools under the Secondary Educational Service Area Office 23. The research statistics used in the research were percentage, mean and standard deviation.     The results were as follows: 1. The current circumstances of Boy Scout and Girl Guide activity management in schools under the Secondary Educational Service Area Office 23 with the whole picture were at high level. The desirable characteristics of Boy Scout and Girl Guide activity management in schools of with the whole picture were at high level. The need for the development of Boy Scout and Girl Guide activity was sorted in descending order as follows: Scout Director of School, Scout Leader, Outstanding Performance, Scout Activities and Scout. 2. The management approach of Boy Scout and Girl Guide in schools under the Secondary Educational Service Area Office 23 consisted of 5 factors and 72 indicators. There were 22 indicators of scout director of school, 8 indicators of scout leader, 12 indicators of outstanding performance, 12 indicators of scout activities and 18 indicators of Scout. The result of assessment for appropriateness and possibility of the management approach of Boy Scout and Girl Guide with the whole picture was at the highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์การบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารีในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 23 2) พัฒนาแนวทางการบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 23 การวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ได้แก่ การศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์การบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารีในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 23 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี จำนวน 143 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม ระยะที่ 2 การพัฒนาแนวทางการบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 23 ผู้ให้ข้อมูล ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน ประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางการบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารีในสถานศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน            ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันการบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 โดยรวมอยู่ในระดับมาก สภาพที่พึงประสงค์การบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารีในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 โดยรวมอยู่ในระดับมาก และความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านผู้บริหารโรงเรียน ด้านผู้กำกับลูกเสือ ด้านผลงานดีเด่น ด้านการจัดมวลกิจกรรมลูกเสือ และด้านลูกเสือ   2. การพัฒนาแนวทางการบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารีในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 การพัฒนาแนวทางการบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารีในสถานศึกษา ประกอบด้วย 5 ด้าน 72 แนวทาง ได้แก่ ด้านผู้บริหารโรงเรียน 22 แนวทาง ด้านผู้กำกับลูกเสือ 8 แนวทาง ด้านผลงานดีเด่น 12 แนวทาง ด้านการจัดมวลกิจกรรมลูกเสือ12 แนวทาง และด้านลูกเสือ 18 แนวทาง ผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางการบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารีในสถานศึกษา โดยรวมมีความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาแนวทางth
dc.subjectการบริหารth
dc.subjectการจัดกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารีth
dc.subjectapproachen
dc.subjectThe managementen
dc.subjectScoutsen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment of the Boy Scout and Girl Guide Management Approach in Schools under the Secondary Educational Service Area Office 23en
dc.titleการพัฒนาแนวทางการบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 23th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59030580057.pdf4.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.