Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/39
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorApirat Supimen
dc.contributorอภิรัตน์ สุพิมพ์th
dc.contributor.advisorTanyatorn Srivachianen
dc.contributor.advisorธัญญธร ศรีวิเชียรth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-08-08T07:01:32Z-
dc.date.available2019-08-08T07:01:32Z-
dc.date.issued15/2/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/39-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were  1)  to study the current state and desirable conditions to developing of Teachers on Learning Management of Multigrade of small sized schools under The Office of Nongbua-lampoo Primary Educational Service Area 1 and, 2) to develop the program for Teachers on Learning Management of Multigrade of small sized schools under The Office of Nongbua-lampoo Primary Educational Service Area 1. There were 2 phases of implementation in research and development including: 1) studying the current state and desirable conditions of Teachers on Learning Management of Multigrade of small sized schools; the samples consisted of 250 Director of the Schooland teachers. The research instrument is the questionnaire. The statistics used for analyzing data were mean, and standard deviation.  2) the program development for Teachers on Learning Management of Multigrade of small sized schools; the 5 program assessors were the group of informants. The research instrument is evaluation form. The statistics used for analyzing data were mean, and standard deviation. The results of the study were as follows: Current condition analysis results Desirable condition Of teacherdevelopment in mixed-level learning management for small schools, found that the current condition of teacher development in mixed-level learning management for small schools Under the Office of Nongbua-lampoo Primary Educational Service Area 1, which is in a high level ( x̄ = 3.77 )  When considering each aspect, it was found that Every aspect has a high level of opinion. With the highest mean value, ie, the learners' level of knowledge presentation, followed by the teaching-learning process As for the aspect that has the lowest mean value is the knowledge summary stage. And desirable conditions of teacher development in assorted learning management for small schools Under the Office of Primary Education Service Area, Nongbua-lampoo Region 1 is included in the highest level. ( x̄ = 4.56 ) When considering each aspect, it was found that Every aspect has opinions. At the highest level With the highest mean value of the learning evaluation process, followed by the level of learners presenting knowledge The side that has the lowest mean value is the aspect of determining the subject. And the index of the need for improvement (PNImodified) and the order of needs needed in 7 areas, from descending, including knowledge summary Learner analysis Learning evaluation Learning design process Teaching Procedures Step Learners step to present knowledge. Development of teacher development program development program for mixed-level learning management for small schools Under the Office of Nongbua-lampoo Primary Educational Service Area Office 1, consisting of 4 steps 1) preparing 2) developing 3) integrating between operations and 4) evaluating after the program development has been evaluated by qualified 5 The results show that the program is the most appropriate overall level and is possible at the highest level. In conclusion, the developed program is a program aimed at developing teachers in various levels of 7-step learning management, using a variety of developmental processes to create knowledge, insights, and learning skills. Profound and sustainable Developed teachers can continually apply the principles to their own development. The methods used to develop the program, such as self-learning training. The exchange of learning by brainstorming. Study visit Learning from practice To change the paradigm in learning management for small schools. The focus is on practical exercises for students to learn skills together with others. Encourage learners to build self-knowledge, develop both emotional and social intelligence.en
dc.description.abstractในการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน  สภาพที่พึงประสงค์การพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้นสำหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1 2) พัฒนาโปรแกรมการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้นสำหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1 การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา ประชากรได้แก่ ผู้บริหารและครูในสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1 ประจำปีการศึกษา 2561 จำนวน 739 คน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียนและครูในสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1 จำนวน 250 คน โดยดำเนินการแบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้นสำหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารและครูในสถานศึกษาขนาดเล็ก จำนวนทั้งสิ้น 250 คน กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระยะที่ 2 การพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้นสำหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินโปรแกรม 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบประเมิน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ผลการวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้นสำหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก พบว่า สภาพปัจจุบันของการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้นสำหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( x̄ = 3.77 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ทุกด้านมีความคิดเห็นในระดับมาก  โดยด้านมีค่าเฉลี่ยสูงสุด  คือ  ด้านขั้นผู้เรียนนำเสนอความรู้  รองลงมาคือ  ด้านขั้นปฏิบัติการเรียนการสอน  ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด  คือ  ด้านขั้นสรุปความรู้ และสภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้นสำหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภูเขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( x̄ = 4.56 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ทุกด้านมีความคิดเห็น ในระดับมากที่สุด  โดยด้านมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านขั้นประเมินผลการเรียนรู้ รองลงมาคือ  ด้านขั้นผู้เรียนนำเสนอความรู้  ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านขั้นกำหนดหัวเรื่อง และค่าดัชนีความต้องการจำเป็นปรับปรุง  (PNImodified) และลำดับความต้องการจำเป็นทั้ง  7  ด้านจากมากไปหาน้อย ได้แก่  ด้านขั้นสรุปความรู้ ด้านขั้นวิเคราะห์ผู้เรียน ด้านขั้นประเมินผลการเรียนรู้ ด้านขั้นออกแบบการเรียนรู้ ด้านขั้นปฏิบัติการเรียนการสอน ด้านขั้นกำหนดหัวเรื่อง ด้านขั้นผู้เรียนนำเสนอความรู้ การพัฒนาโปรแกรมการพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้นสำหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1 ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน 1) เตรียมการ 2) พัฒนา 3) บูรณาการระหว่างปฏิบัติงานและ 4) ประเมินผลหลังพัฒนา  โปรแกรมฯ ได้รับการประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิ  5  ท่าน  ผลปรากฏว่า โปรแกรมฯ  มีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ระดับมากที่สุดและมีความเป็นไปได้โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด โดยสรุป โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นเป็นโปรแกรมที่มุ่งพัฒนาครูในด้านการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้น  7 ขั้น  โดยใช้กระบวนการพัฒนาที่มีความหลากหลายเพื่อสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะด้านการเรียนรู้แบบคละชั้นที่ลึกซึ้งและมีความยั่งยืน ครูผู้สอนที่เข้ารับการพัฒนาสามารถนำหลักการไปใช้ในการพัฒนาตนเองต่อได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งวิธีการต่างๆที่จะนำมาใช้ดำเนินการพัฒนาตามโปรแกรม เช่น การฝึกอบรม การเรียนรู้ด้วยตนเอง  การแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการระดมความคิด  การศึกษาดูงาน  การเรียนรู้จากการปฏิบัติงาน  เพื่อปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ใหม่ในด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก โดยเน้นการฝึกปฏิบัติเพื่อผู้เรียนเกิดทักษะในการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองพัฒนาทั้งด้านอารมณ์ สังคม สติปัญญาth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectโปรแกรมพัฒนาครูth
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้นth
dc.subjectThe program to developing of Teachersen
dc.subjectLearning Management of Multigradeen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleThe Program to Developing of Teachers on Learning Management of Multigrade of Small Sized Schools under The Office of Nongbua-lampoo Primary Educational Service Area 1en
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้นสำหรับสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59030580031.pdf3.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.