Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/425
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSanlikhitchai Pholthaisongen
dc.contributorสาส์นลิขิตชัย พลไธสงth
dc.contributor.advisorUmnat Chanavongen
dc.contributor.advisorอำนาจ ชนะวงศ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-11-19T08:55:21Z-
dc.date.available2019-11-19T08:55:21Z-
dc.date.issued19/9/2018
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/425-
dc.descriptionDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.descriptionการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to study the elements of the effective team by community participation in educational management of high school; 2) to study the current condition and the desirable condition of the effective team by community participation in educational management of high school; 3) to develop the effective team by community participation in educational management of high school; and 4) to study the result of using the effective team by community participation in educational management of high school. The four stages of the Research include 1) study the elements of the effective team by community participation in educational management of high school; 2) study the current condition and the desirable condition of the effective team by community participation in educational management of high school; 3) develop the effective team by community participation in educational management of high school; and 4) study the result of using the effective team by community participation in educational management of high school. The sampling is the community participation in educational management of high school consisted of executive, parents, students, teachers, private organization, vocational organization, community organization, locality organization, the religious institution and establishment are about 2340 people from Multi-Stage Sampling, Percentage, Average, Standard Deviation, Priority Need Index (PNImodified = (I-D)/D) The findings were as follows: 1. The effective team development model by community participation in educational management of high school. 1.1) Teamwork consisted of 4 sub-main elements 18 strands 1) personnel aspects has 4 strands : (1)participation,(2)cooperation,(3) leadership,and (4) motivation 2) team aspects has 7 strands: (1) conflict management, (2) team meeting, (3) team solidarity building, (4) co-ordination, (5) co-decision, (6) communication, and (7) trust 3) work aspects has 5 strands: (1) clear objectives, (2) goal setting, (3) role assignment, (4)working process improvement, and (5) examination/evaluation 4) organization aspects has 2 strands: (1) atmosphere of organization and (2) organizational culture. 1.2) Community including 4 strands 1) co-thinking 2) co-practice 3) co-evaluation and 4) co-taking responsibilities for evaluation results. 1.3) Elements of process of development of effective team by community participation including 5 strands: 1) raising awareness of development of effective team bycommunity participation 2) co-investigating the current condition and the desirable condition of the development of effective team by community participation 3) co-planning the action for the effective team by community participation4) co-operating the action-plan for the effective team by community participation and 5) co-evaluating the development of effective team by community participation. 2. Educational management of high school including 1) content 2) up to date 3) teachers 4) media and educational equipment 5) teaching Method 6) director and supporters of education 7) funding 8) school and surroundings 9) students. 3. The effective of educational management of high school including 1) quality studentsquality teaching Method 3) worthiness 4) educational outcome 4. The current condition and the desirable condition of the effective team by community participation in educational management of high school revealed that the current condition both total and individual aspects were in medium level operation in all aspects while the desirable condition of the effective team by community participation in educational management of high school revealed that both total and individual aspects were in the highest level of appropriation in all aspects. 5. The effective team by community participation in educational management of high school evaluated by the experts revealed that the total appropriation was in high level. Considering the appropriation of each aspect found that the appropriation of format was in the highest level while the rest 4 aspects: contents, practicability, accuracy and benefits were in high level appropriation. The participants in educational management had comments on the effective team by community participation in educational management of high school that they knew the means and could develop themselves,knew their knowledge and their abilities, had responsibility for their duties, knew the means and improved themselves continuously, had leadership, gained new knowledge and skills, worked as team, improved teamwork, had team solidarity; the team worked efficiently, cooperated among individuals and team, coordinated in team and expertized, regarded team’s decisions, encouraged team’s learning, took responsibilities for the results in team, had creative arguments, trusted one another in team, had proper decisions in team, clearly communicated, had proper actions, had efficient work system, had clear objectives, set goal, had standard work outcomes, checked and evaluated work outcomes, set criteria and indicators for the success evaluations, together felt bound to, participated, and owned the school; the environments and the atmospheres were conducive to work as well as there were democratic atmospheres; they gained skills and innovations in work, and formed culture, attitudes, beliefs and values of working together. In conclusion, the effective team development model by community participation in educational management of high school was appropriate and practical for the real situation. In conclusion, the effective team development model by community participation in educational management of high school was appropriate and practical for the real situation.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้การพัฒนาทีมงานโดยชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษา 2) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาทีมงานโดยชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษา 3) เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาทีมงานโดยชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษาและ 4) เพื่อศึกษาผลรูปแบบการพัฒนาทีมงานโดยชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษา วิธีดำเนินการวิจัยเป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) แบ่งออกเป็น 4 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 ศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้การพัฒนาทีมงานโดยชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษา ระยะที่ 2 ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของรูปแบบการพัฒนาทีมงานโดยชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษา ระยะที่ 3 พัฒนารูปแบบการพัฒนาทีมงานโดยชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษา ระยะที่ 4 ศึกษาผลการใช้รูปแบบการพัฒนาทีมงานโดยชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษาไปใช้ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา ประกอบด้วย ผู้บริหาร ผู้ปกครอง นักเรียน ครูผู้สอน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถาบันศาสนาและสถานประกอบการ จำนวน 2,340 คน ได้จากการสุ่มหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน หาค่าความต้องการจำเป็นโดยวิธี Priority Need Index (PNImodified = (I-D)/D) ผลการวิจัย ปรากฏ ดังนี้ 1. รูปแบบการพัฒนาทีมงานโดยชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษาที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย องค์ประกอบ ดังนี้ 1.1) องค์ประกอบหลักด้านการทำงานเป็นทีมมี 4 องค์ประกอบย่อย 18 ตัวบ่งชี้ ประกอบด้วย 1) องค์ประกอบย่อยด้านบุคคลมี 4 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ (1) การมีส่วนร่วม (2) ความร่วมมือ (3) ภาวะผู้นำ (4) แรงจูงใจ 2) องค์ประกอบย่อยด้านทีมมี 7 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ (1) การบริหารความขัดแย้ง (2) การประชุมทีม (3) ความเป็นปึกแผ่นของทีม (4) การประสานงาน (5) การตัดสินใจ (6) การติดต่อสื่อสาร (7) การไว้วางใจ 3) องค์ประกอบย่อยด้านงาน มี 5 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ (1) วัตถุประสงค์ชัดเจน (2)การกำหนดเป้าหมาย (3) การกำหนดบทบาท (4) กระบวนการทำงาน (5) ตรวจสอบผลงานและการประเมินผล 4) องค์ประกอบย่อยด้านองค์การมี 2 บ่งชี้ ได้แก่ (1) บรรยากาศองค์การ (2) วัฒนธรรมองค์การ 1.2) องค์ประกอบหลักด้านการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศึกษามี 4 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) ร่วมคิด 2) ร่วมปฏิบัติ 3) ร่วมประเมินผลและ 4) ร่วมรับผลที่เกิดขึ้นจากการประเมิน 1 .3) องค์ประกอบหลักด้านกระบวนการพัฒนาทีมงานโดยชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษามี 5 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การสร้างความตระหนักการพัฒนาทีมงานโดยชุมชนมีส่วนร่วม 2) การศึกษาสภาพการพัฒนาทีมงานโดยชุมชนมีส่วนร่วม 3) การวางแผนปฏิบัติการการพัฒนาทีมงานโดยชุมชนมีส่วนร่วม 4) การดำเนินการตามแผนปฏิบัติการการพัฒนาทีมงานโดยชุมชนมีส่วนร่วม 5) การประเมินผลการพัฒนาทีมงานโดยชุมชนมีส่วนร่วม 2. องค์ประกอบด้านการจัดการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษาประกอบด้วย 1) สาระเนื้อหาในการศึกษา 2) ทันต่อเหตุการณ์ 3) ครูผู้สอน 4) สื่อและอุปกรณ์สําหรับการศึกษา 5) รูปแบบวิธีการเรียนการสอน 6) ผู้บริหารและบุคลากรที่ทําหน้าที่ให้การสนับสนุนการศึกษา 7) เงินทุนให้การสนับสนุนการจัดการศึกษา 8) สถานศึกษาและบรรยากาศสิ่งแวดล้อม 9) ผู้เรียน 3. องค์ประกอบด้านประสิทธิผลการจัดการศึกษามัธยมศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษาประกอบด้วย 1) คุณภาพของผู้เรียน 2) คุณภาพของการจัดการเรียนการสอน 3) ความคุ้มค่าในการจัดการศึกษา 4) ผลลัพธ์ของการจัดการศึกษา 4. สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์การพัฒนาทีมงานโดยชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษาพบว่าสภาพปัจจุบันทั้งโดยรวมและรายด้านผู้ที่มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษามีความเห็นว่า มีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลางทุกด้านส่วนสภาพที่พึงประสงค์การพัฒนาทีมงานโดยชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษา พบว่า ทั้งโดยรวมและรายด้านผู้ที่มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษามีความเห็นว่ามีระดับที่พึงประสงค์อยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน 5. รูปแบบการพัฒนาทีมงานโดยชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษาจากการประเมินของผู้ทรงคุณวุฒิโดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาความเหมาะสมเป็นรายด้าน พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด 1 ด้าน คือ ด้านความเหมาะสมของรูปแบบ ส่วนอีก 4 ด้าน คือ ด้านเนื้อหาสาระของรูปแบบด้านความเป็นไปได้ของรูปแบบด้านความถูกต้องของรูปแบบ และด้านประโยชน์ของรูปแบบมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ผู้ที่มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา มีความเห็นต่อรูปแบบการพัฒนาทีมงานโดยชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษา คือ ทราบวิธีและสามารถพัฒนาตนเองได้ รับรู้ความรู้ ความสามารถของตนเองมีความรับผิดชอบต่องานในหน้าที่ของตนเองทราบวิธีและมีการปรับปรุงตนเองอย่างต่อเนื่อง มีภาวะผู้นำในการปฏิบัติงาน เกิดความรู้และทักษะ ใหม่ ๆ  มีการทำงานเป็นทีม มีการพัฒนาทีมงาน มีความเป็นปึกแผ่นของทีม ทีมทำงานมีประสิทธิภาพมีความร่วมมือกันระหว่างบุคคลและทีมงาน ทีมงานมีการประสานงานและมีความเชี่ยวชาญ เคารพต่อการตัดสินใจของทีม มีการส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม ร่วมกันรับผิดชอบต่อผลลัพธ์เป็นทีมมีการใช้ความขัดแย้งในทางสร้างสรรค์ มีความไว้วางใจต่อกันระหว่างสมาชิกในทีม มีการตัดสินใจเป็นทีมที่ถูกต้องเหมาะสม การสื่อสารงาน มีความชัดเจน มีวิธีการปฏิบัติงานได้ถูกต้อง กระบวนการทำงานเป็นระบบมีประสิทธิภาพ งานมีวัตถุประสงค์ชัดเจน มีการกำหนดเป้าหมาย ผลลัพธ์ของงานมีมาตรฐาน มีการตรวจสอบผลงานมีการประเมินผลงานมีเกณฑ์และตัวบ่งชี้การประเมินความสำเร็จมีความรู้สึกผูกพันกับโรงเรียน มีความรู้สึกมีส่วนร่วมและเป็นเจ้าของร่วมกัน สิ่งแวดล้อมและบรรยากาศเอื้อต่อการทำงาน มีบรรยากาศเป็นประชาธิปไตย เกิดทักษะและนวัตกรรมในการทำงานวัฒนธรรมก่อให้เกิดทัศนคติความเชื่อค่านิยมการปฏิบัติงานร่วมกัน สรุปได้ว่า รูปแบบการพัฒนาทีมงานโดยชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษาที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมในการนำไปปฏิบัติและมีความเป็นไปได้ของรูปแบบไปใช้ในสถานการณ์จริง       th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectรูปแบบth
dc.subjectการพัฒนาทีมงานโดยชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาth
dc.subjectModelen
dc.subjectCommunity Development Team Contribute to Educational Managementen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Effective Team Development Model by Community Participation in Educational Management of High Schoolen
dc.titleรูปแบบการพัฒนาทีมงานโดยชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ที่มีประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56010561019.pdf5.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.