Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/433
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAthis Chaikhirinen
dc.contributorอธิศ ไชยคิรินทร์th
dc.contributor.advisorBoonchom Srisa-arden
dc.contributor.advisorบุญชม ศรีสะอาดth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-11-19T09:04:07Z-
dc.date.available2019-11-19T09:04:07Z-
dc.date.issued9/7/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/433-
dc.descriptionDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.descriptionการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.abstractThis research aimed to develop and evaluate effectiveness of internal supervision model by using professional learning community processes for secondary schools. Research methodology as research and development the implementation of 3 stages of research were to study current and desirable states on internal supervision and professional learning community in secondary school; development of internal supervision model by using professional learning community-based for secondary school; and evaluation of effectiveness of internal supervision model by using a professional learning community for secondary schools. 280 of target groups on phase 1 were school administrator, teacher and educational personnel, and 38 of target groups on phase 3 were the deputy director of academic affairs, and head of learning group. The research instruments used were 5-point rating scale questionnaires, structured interview, performance assessment form and satisfaction assessment form were used for data collection. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, PNIModified, and paired t-test. The findings were as follows: 1) The study current and desirable states on internal supervision and professional learning community in secondary school, 1) overall, the current state was at a high level (Mean = 3.68) and the desirable state on the internal supervision in the secondary school was also at a high level (Mean = 3.89), respectively. When considering the need index, it was found that the internal supervision on planning gained the need index with the highest level from all 5 aspects. 2) All in all, the current state was at a high level (Mean = 3.84) and the desirable state on professional learning community was also at a high level (M = 3.95), respectively. When considering the need index, it was found that the professional learning community was shared vision base with the highest level of the need index from all 6 aspects. 2) Internal supervision model by using the professional learning community process for secondary school, it were found that the internal supervision model consisted of 5 elements, namely: preparing; planning; implementing; reflecting, improving and evaluating; and concluding and reporting. In addition, the professional learning community consisted of 6 elements, namely; shared vision; collaborative teamwork; shared leadership; professional learning and development; caring community; and supportive structures. The model, on the whole, was theoretical reasonable and possible at a high level (Mean = 4.32, SD = 0.38) 3) Deputy directors of academic affairs and the heads of learning department gained higher knowledge score on internal supervision and professional learning communities than before with statistical significance (p <0.001) that the score increased up to 9.57 (95% CI: 8.63-10.52). Implementing score based on internal supervision model and professional learning community, on the whole, were higher than before with statistical significant (p <0.001) that the scores increased up to 1.54 points (95% CI: 1.35-1.72), as well as the satisfaction score was overall at a high level (Mean = 4.14, SD = 0.3) en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการนิเทศภายในโดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษาโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัย เป็นการวิจัยและพัฒนาการดำเนินการวิจัย 3 ระยะคือ การศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพพึงประสงค์ของการดำเนินการนิเทศภายในและการใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพของโรงเรียนมัธยมศึกษาการพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในและการประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการนิเทศภายในโดยใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษา กลุ่มเป้าหมายในระยะที่ 1 เป็นผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา จำนวน 280 คน และระยะที่ 3 เป็นรองผู้อำนวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ และครูหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวน 38 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง แบบประเมินการปฏิบัติงาน และแบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน PNIModified และสถิติทดสอบที (Paired t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. การศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพพึงประสงค์ของการดำเนินการนิเทศภายในและการใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพของโรงเรียนมัธยมศึกษา พบว่า 1) สภาพปัจจุบัน โดยรวมอยู่ในระดับมาก (Mean = 3.68) และสภาพที่พึงประสงค์ของการนิเทศภายในสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก (Mean = 3.89) เมื่อพิจารณาค่าดัชนี ความต้องการจำเป็น พบว่า การนิเทศภายในด้านการวางแผนมีดัชนีความต้องการจำเป็นมากที่สุด จากทั้งหมด 5 ด้าน และ 2) สภาพปัจจุบัน โดยรวมอยู่ในระดับมาก (Mean = 3.84) และสภาพที่พึงประสงค์ของกระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ โดยรวมอยู่ในระดับมาก (Mean = 3.95) เมื่อพิจารณาค่าดัชนีความต้องการจำเป็น พบว่า กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ด้านวิสัยทัศน์ร่วม มีดัชนีความต้องการจำเป็นมากที่สุดจากทั้งหมด 6 ด้าน 2. รูปแบบการนิเทศภายในโดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษา พบว่า รูปแบบการนิเทศภายใน ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบคือ การเตรียมการ การวางแผน การปฏิบัติการ การสะท้อนผล ปรับปรุงและประเมินผล และการสรุปและการรายงานผล ส่วนกระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ คือ ด้านวิสัยทัศน์ร่วม ทีมร่วมแรงร่วมใจ ภาวะผู้นำร่วม การเรียนรู้พัฒนาวิชาชีพ ชุมชนกัลยาณมิตร และโครงสร้างสนับสนุนชุมชน และรูปแบบฯ มีความสมเหตุสมผลเชิงทฤษฎีและความเป็นไปได้ โดยรวมอยู่ในระดับมาก (Mean = 4.32, SD = 0.38) 3. รองผู้อำนวยการโรงเรียนกลุ่มบริหารงานวิชาการ และครูหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้มีคะแนนความรู้เกี่ยวกับการนิเทศภายในและชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพหลังการพัฒนามากกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <0.001) โดยมีคะแนนความรู้เพิ่มขึ้นเท่ากับ 9.57 คะแนน (95% CI: 8.63-10.52) มีคะแนนการดำเนินงานตามรูปแบบการนิเทศภายในและชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพโดยรวมหลังการพัฒนา มากกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <0.001) โดยมีคะแนนเพิ่มขึ้นเท่ากับ 1.54 คะแนน (95%CI: 1.35-1.72) และมีความพึงพอใจต่อรูปแบบโดยรวมอยู่ในระดับมาก (Mean = 4.14, SD = 0.3)th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนารูปแบบth
dc.subjectการนิเทศภายในth
dc.subjectชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพth
dc.subjectDevelopment of Modelen
dc.subjectProfessional learning Communityen
dc.subjectInternal Supervisionen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDeveloping Professional Learning Community-based Internal Supervision Model for Secondary Schoolen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในโดยใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57010566008.pdf4.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.