Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/435
Title: The Development of Indicators Instructional Design Competencies of the Undergraduate Students of Majored in Educational Technology and Communications
การพัฒนาตัวบ่งชี้สมรรถนะการออกแบบการเรียนการสอนของนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
Authors: Mintra Narmmoontree
มินตรา นามมูลตรี
Ratchaneewan Tangpakdee
รัชนีวรรณ ตั้งภักดี
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: ตัวบ่งชี้, สมรรถนะ, การออกแบบการเรียนการสอน
Indicators
Competencies
Instructional Design
Issue Date:  13
Publisher: Mahasarakham University
Abstract:    The purposes of this research were 1. To synthesize the indicators of instructional design competencies of undergraduate students majored in Educational Technology and Communications. 2. To study the opinions of experts on the indicators of instructional design competencies of undergraduate students majored in Educational Technology and Communications. The sample consisted of experts in the majored in Educational Technology and Communications, the number of 13 people, which is a instructor of majored in Educational Technology and Communications in the amount of 9 people and officer from the organization of educational technology, the number 4 people. Tools used in this research were, Questionnaire of expert opinions on the of instructional design competencies of undergraduate students majored in Educational Technology and Communications. The Delphi Technique government 3 rounds Data were analyzed by a summary and interpretation. Frequency, percentage mean, mode, median, mode and median differences. And the interquartile range.    The Results of research were as follows:    1. Synthesize the indicators of instructional design competencies of undergraduate students majored in Educational Technology and Communications. Consists of 4 core competencies which were 1) Professional Foundation Competencies areas consists of 6 sub competencies 12 indicators, 2) Planning and Analysis Competencies areas consists of 7 sub competencies 15 indicators, 3) Design and Development Competencies areas consists of 5 sub competencies 22 indicators, 4) Implementation and Management Competencies areas consists of 3 sub competencies 5 indicators.    2. The opinions of experts on the indicators of instructional design competencies of undergraduate students majored in Educational Technology and Communications.  Consists of 7 core competencies which were 1) Professional Foundation Competencies areas consists of 3 sub competencies 19 indicators, 2) Planning Competencies areas consists of 2 sub competencies 8 indicators, 3) Analysis Competencies areas consists of 5 sub competencies 16 indicators, 4) Design Competencies areas consists of 6 sub competencies 25 indicators, 5) Development Competencies areas consists of 3 sub competencies 12 indicators, 6) Implementation Competencies areas consists of 1 sub competencies 4 indicators, 7) Evaluation Competencies areas consists of 1 sub competencies 5 indicators.
   การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อสังเคราะห์ตัวบ่งชี้สมรรถนะการออกแบบการเรียนการสอนของนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา 2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับตัวบ่งชี้สมรรถนะการออกแบบการเรียนการสอนของนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา จำนวน 13 คน ซึ่งเป็นอาจารย์สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา จำนวน 9 คน และผู้ปฏิบัติงานจากหน่วยงานหรือองค์กรทางเทคโนโลยีการศึกษา จำนวน 4 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับสมรรถนะการออกแบบการเรียนการสอนของนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาด้วยเทคนิคเดลฟาย 3 รอบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยม ความแตกต่างระหว่างฐานนิยมและมัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์    ผลการวิจัยพบว่า    1. สังเคราะห์ตัวบ่งชี้สมรรถนะการออกแบบการเรียนการสอนของนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาเทคโนโลยีและสื่อสาร ประกอบไปด้วยสมรรถนะหลัก 4 ด้าน ได้แก่ 1) สมรรถนะพื้นฐานเกี่ยวกับอาชีพ ประกอบด้วยสมรรถนะย่อย 6 สมรรถนะ 12 ตัวบ่งชี้ 2) สมรรถนะด้านการวางแผนและการวิเคราะห์ ประกอบด้วยสมรรถนะย่อย 7 สมรรถนะ 15 ตัวบ่งชี้ 3) สมรรถนะด้านการออกแบบและพัฒนา ประกอบด้วยสมรรถนะย่อย 5 สมรรถนะ 22 ตัวบ่งชี้ 4) สมรรถนะด้านการดำเนินการและการบริหารจัดการ ประกอบด้วยสมรรถนะย่อย 3 สมรรถนะ 5 ตัวบ่งชี้    2. ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับตัวบ่งชี้สมรรถนะการออกแบบการเรียนการสอนของนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ประกอบด้วยสมรรถนะหลักจำนวน 7 สมรรถนะ ได้แก่ 1) สมรรถนะด้านพื้นฐานเกี่ยวกับอาชีพ ซึ่งมีสมรรถนะย่อยจำนวน 3 สมรรถนะ 19 ตัวบ่งชี้ 2) สมรรถนะด้านการวางแผน ซึ่งมีสมรรถนะย่อยจำนวน 2 สมรรถนะ 8 ตัวบ่งชี้ 3) สมรรถนะด้านการวิเคราะห์ ซึ่งมีสมรรถนะย่อยจำนวน 5 สมรรถนะ 16 ตัวบ่งชี้ 4) สมรรถนะด้านการออกแบบ ซึ่งมีสมรรถนะย่อยจำนวน 6 สมรรถนะ 25 ตัวบ่งชี้ 5) สมรรถนะด้านการพัฒนา ซึ่งมีสมรรถนะย่อยจำนวน 3 สมรรถนะ 12 ตัวบ่งชี้ 6) สมรรถนะด้านการนำไปใช้ ซึ่งมีสมรรถนะย่อยจำนวน 1 สมรรถนะ 4 ตัวบ่งชี้ และ 7) สมรรถนะด้านการประเมิน ซึ่งมีสมรรถนะย่อยจำนวน 1 สมรรถนะ 5 ตัวบ่งชี้
Description: Master of Education (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/435
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57010553003.pdf2.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.