Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/444
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Ausadanit Kotchai | en |
dc.contributor | อัษฎานิษฐ์ โคตรชัย | th |
dc.contributor.advisor | Suwat Junsuwan | en |
dc.contributor.advisor | สุวัฒน์ จุลสุวรรณ์ | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2019-11-19T09:12:16Z | - |
dc.date.available | 2019-11-19T09:12:16Z | - |
dc.date.issued | 30/9/2018 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/444 | - |
dc.description | Doctor of Education (Ed.D.) | en |
dc.description | การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.) | th |
dc.description.abstract | The purposes of the research were to 1) To study the components and indicators of the teacher development system. To conduct classroom research. For education Local Government Organization. 2) To study the present condition and desirable condition of the teacher development system. To conduct classroom research. For education Local Government Organization. 3) To develop teacher development system. To conduct classroom research. For education Local Government Organization. And 4) To study the effect of teacher development system. To conduct classroom research. For education Local government organization. It consists of 4 stages. Phase 1 Study of system components. The data were 7 experts. The instrument used is the suitability assessment form. Phase 2: Study of the current state and desirable condition of the system. The samples were 336 Heads of Academic and Teacher Heads. The tools used were questionnaires, current conditions and conditions. Phase 3 Design and evaluation of systems. The data were 7 experts. The tools used are system suitability assessment and system manual. And phase 4 study of the implementation of the system. The data were 15 teachers. The instrument used was a questionnaire and a satisfaction rating form. Statistics used in data analysis include: Percentage, mean and standard deviation. The research found that 1. Elements and indicators of the Teacher Development System To conduct classroom research. For education Local Government Organization. Divided into 4 main components; Input factors include teachers, school policy, budget, equipment and administration. Processes include problem analysis. Development of methods or innovations, implementation, data analysis and summary. Outputs include teachers with knowledge and understanding of classroom action research. Teachers have the ability to conduct classroom research. Feedback consists of reporting and improvement and development. 2. Current situation and desirable condition of teacher development system. To conduct classroom research. For education Local Government Organization found: Import factor the current situation is very active. The desirable condition was at the highest level. Process The current situation is very active. The desirable condition was at the highest level. Output The current state of affairs is very high. The desirable condition was at the highest level. Feedback The current situation is very active. The desirable condition was at the highest level. 3. Teacher Development System in Action Research in Classroom. For education Local Government Organization It works through five subsystems. 1) Problem Analysis Survey 2) Methodology Development or Innovation 3) Research Implementation 4) Data Collection and Analysis 5) Research Report. By driving through the qualitative management process (P-D-C-A). The development of teacher development system. Field research activities for education Local Government Organization Evaluate the opinions of qualified teachers. To conduct classroom research, suitability, feasibility. And the benefits to use at the highest level. 4. The result of teacher development system. To conduct classroom research. For education Local government organizations used to find that. 1) Teachers have the knowledge and understanding to conduct classroom research. 2) Teachers have the ability to conduct classroom research activities. 3) Teachers' satisfaction towards the use of teacher development system. To conduct classroom research. For education Local Government Organization Very high | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดของระบบพัฒนาครู ในการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน สำหรับสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของระบบพัฒนาครู ในการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน สำหรับสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3) เพื่อพัฒนาระบบพัฒนาครู ในการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน สำหรับสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 4) เพื่อศึกษาผลการนำระบบพัฒนาครู ในการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน สำหรับสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไปใช้ประกอบด้วย 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดของระบบ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบ ระยะที่ 2 การศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของระบบ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้อำนวยการ หัวหน้าฝ่ายวิชาการ และครู จำนวน 336 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึ่งประสงค์ ระยะที่ 3 การออกแบบและประเมินระบบ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบประเมินความเหมาะสมของระบบและคู่มือการใช้ระบบ และระยะที่ 4 การศึกษาผลการนำระบบไปใช้ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ครู จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม และแบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบและตัวชี้วัดของระบบพัฒนาครู ในการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน สำหรับสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แบ่งออกเป็นองค์ประกอบหลัก จำนวน 4 ส่วน ซึ่งประกอบด้วย ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) ประกอบด้วย ครู นโยบายของสถานศึกษา งบประมาณ อุปกรณ์ และ การบริหารจัดการ ด้านกระบวนการ (Process) ประกอบด้วย การสำรวจวิเคราะห์การปัญหา การพัฒนาวิธีการหรือนวัตกรรม การดำเนินการ การวิเคราะห์ข้อมูล และ การสรุปผล ด้านผลผลิต (Output) ประกอบด้วย ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ครูมีความสามารถในการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนได้ ด้านข้อมูลป้อนกลับ (Feedback) ประกอบด้วย การรายงานผล และการปรับปรุง แก้ไข และพัฒนา 2. สภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ของระบบพัฒนาครู ในการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน สำหรับสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่าด้านปัจจัยนำเข้า สภาพปัจจุบันมีการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก และสภาพที่พึงประสงค์มีความพึงประสงค์อยู่ในระดับมากที่สุดด้านกระบวนการ สภาพปัจจุบันมีการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก และสภาพที่พึงประสงค์มีความพึงประสงค์อยู่ในระดับมากที่สุด ด้านผลผลิต สภาพปัจจุบันมีการดำเนินงานอยู่ในระดับมมาก และสภาพที่พึงประสงค์มีความพึงประสงค์อยู่ในระดับมากที่สุด และด้านข้อมูลป้อนกลับสภาพปัจจุบันมีการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก และสภาพที่พึงประสงค์มีความพึงประสงค์อยู่ในระดับมากที่สุด 3. ระบบพัฒนาครู ในการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน สำหรับสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการทำงานผ่านหน่วยระบบย่อยทั้ง 5 หน่วยระบบ ได้แก่ 1) การสำรวจวิเคราะห์ปัญหา 2) การพัฒนาวิธีการหรือนวัตกรรม 3) การดำเนินการวิจัย 4) การเก็บรวบรวมข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูล 5) การรายงานผลการวิจัย โดยการขับเคลื่อนผ่านกระบวนการบริหารเชิงคุณภาพ (P-D-C-A) ซึ่งข้อมูลการพัฒนาระบบพัฒนาครู ด้านการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน สำหรับสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ประเมินความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบคู่มือการใช้ระบบพัฒนาครู ในการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ในการนำไปใช้อยู่ในระดับมากที่สุด 4. ผลการนำระบบพัฒนาครู ในการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน สำหรับสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ไปใช้ พบว่า 1) ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน จากการทำแบบทดสอบวัดความรู้ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ 80 ทุกคน ซึ่งมีความรู้ที่เพิ่มขึ้น 2) ครูมีความสามารถจัดทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน โดยรวมอยู่ในระดับมาก 3) ความพึงพอใจของครูต่อการใช้ระบบพัฒนาครู ในการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน สำหรับสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อยู่ในระดับมาก | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การพัฒนาระบบ | th |
dc.subject | วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน | th |
dc.subject | Development system | en |
dc.subject | Conducting Classroom Action Research | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | Developing a System of Strengthening Teacher in Conducting Classroom Action Research for Schools Under the Local Administrative Organization | en |
dc.title | การพัฒนาระบบพัฒนาครูในการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนสำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
57010560020.pdf | 7.16 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.