Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/447
Title: THE DEVELOPMENT CURRICULUM TEACHER FOR DESIGNING ENGLISH  ACTIVITIES FOR COMMUNICATION THROUGH PROFESIONAL LEARNING COMMUNITY
หลักสูตรพัฒนาครู ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
Authors: Sarayoot Supaso
ศรายุทธ สุภะโส
Montee Wongsaphan
มนตรี วงษ์สะพาน
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: การพัฒนาหลักสูตร
การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
การพัฒนาชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
Development of a Curriculum
Communicative Instruction
Professional Learning Community Process
Issue Date:  26
Publisher: Mahasarakham University
Abstract:              This research was conducted to fulfill three-ford objectives;  to obtain information about the component of the curriculum for communicative instruction, to develop a curriculum for communicative instruction among the teacher participants via PLC process, and and to investigate the effects of the curriculum on;the teacher ability to manage learningEnglish communicative to studentsr The research was contained three phases: 1) investigating the characteristics of the communicative instruction curriculum, 2) creating a curriculum for communicative instruction, and 3) implementing the curriculum with 20 teachers who were involved in an eight-week training. After the training, the teachers used the learnt techniques with their English subjects instruction  involved 100 secondary students. The sample were selected by the purposive sampling method. The instruction took 40 hours in the first semester of the 2016 education year.  The research yields the following results.           1. The components of the training curriculum for english teachers including principles, aims, contents, processes The curriculum has six modules; 1) Creating PLC, 2) Designing communicative learning activities, 3) Mediums for communicative language learning, 4) Implementing of communicative language teaching, 5) Peer Reviewing of instruction and, 6) Evaluating of the results and exchanging of the learnt knowledge. curriculum Evaluation The appropriateness of the components included in the communicative instruction curriculum was rated at a high level.           2. The implementation of the curriculum with the teachers generates the following results.               2.1) As standard of the training, the teacher participants were expected to pass 80 percent of the program evaluation relating the application of PLC process in communicative language teaching. The result showed that the teachers had passed the set criteria as evidenced by; a) 92.00 percent of the teachers were able to design communicative lesson plan, b) 92.13 percent of the teachers were able to design communicative learning activities and, c) 92.75 percent of the teachers were able to design and apply correct methods for learning evaluation.              2.2) After the application of the communicative learning with the students, the average posttest score of the students in  schools was higher than the pretest score with a significance at the level of .05.              2.3) Assessment community-based professional learning of school Including 5 aspects as 2.47 when separated, it was found that 1), leading and management overall, it was at a high level.  2. solution and judgment overall, it was at a high level. 3. learning overall, it was at a high level. 4) structural condition overall, it was at a high level.  5) building relationships with the community overall, it was at a high level. the teacher is operating. Professional community very high in conclusion teachers were reported to have developed skill on PLC process. This result was reflected by a circumstance under which the teachers and the school administrators took part in discussing plans and setting strategies to develop the students learning outcomes. The teachers exchanged with their peers about teaching techniques and learning media that they used. This kind of conversation is crucial in making PLC a successful process for correcting the students’ learning.        
การวิจัยครั้งนี้ มีความมุ่งหมาย เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานและเพื่อพัฒนาหลักสูตรพัฒนาครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร โดยใช้ ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ  ศึกษาผลการใช้หลักสูตรได้แก่ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของครูและความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียนและลักษณะความเป็นชุมชนการเรียนรู้ของครู ผลการใช้หลักสูตรที่เกิดขึ้นกับครู   2.2 ผลการใช้หลักสูตรที่เกิดขึ้นกับนักเรียนขั้นตอนการวิจัยแบ่งออกเป็น 3  ระยะๆ ที่ 1 การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน ระยะที่ 2 การสร้างหลักสูตรพัฒนาครู และระยะที่ 3 ผลการทดลองใช้หลักสูตร ได้นำหลักสูตรไปทดลองใช้ในการพัฒนาครู ที่สมัครใจเข้ารับการพัฒนาจำนวน  20 คน ใช้ระยะเวลาฝึกอบรม  7  สัปดาห์ และทดลองใช้หลักสูตร กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน  100  คน โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling)  ในภาคเรียนที่ 1  ปีการศึกษา  2559 เป็นเวลา 1 ภาคเรียน (40 ชั่วโมง) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้          1. หลักสูตรพัฒนาครูประกอบด้วย หลักการและเหตุผล  จุดมุ่งหมาย  เนื้อหาสาระการเรียนรู้ กระบวนการแบ่งเป็น 6 หน่วยได้แก่ 1) การสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู 2) การออกแบบการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3) สื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 4) การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 5) การนิเทศแบบเพื่อนช่วยเพื่อน 6) การประเมินผลและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลการประเมินหลักสูตรมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก         2. ผลการใช้หลักสูตรพัฒนาครู ปรากฏดังนี้             2.1) ครูผู้เข้ารับการพัฒนามีความสามารถด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ดังนี้ 2.1.1) ด้านการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ มีความสามารถโดยเฉลี่ยคิดเป็น ร้อยละ 92.00 อยู่ในระดับมากที่สุด 2.1.2) ครูผู้เข้ารับการพัฒนา มีความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เฉลี่ยคิดเป็น ร้อยละ 92.13.อยู่ในระดับมากที่สุด 2.1.3) ครูผู้เข้ารับการพัฒนา มีความสามารถในการวัดและประเมินผล โดยเฉลี่ยคิดเป็น ร้อยละ 92.75 อยู่ในระดับมากที่สุด            2.2) นักเรียนที่เรียนรู้ตามแผนของครูผู้เข้ารับการพัฒนา มีความสามารถด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ โดยรวม หลังการใช้หลักสูตรพัฒนาครูสูงกว่าก่อนการใช้หลักสูตรพัฒนาครู อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า มีความสามารถสูงขึ้นทุกด้าน ทั้งด้านการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน            2.3)   ผลการประเมิน “ความเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ” ของสถานศึกษาในภาพรวม ทั้ง 5 ด้านพบว่า ครูมีการดำเนินงาน ความเป็นชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพอยู่ในระดับมาก โดยมีคะแนนเฉลี่ยรวมทั้ง 5 ด้าน เท่ากับ 2.47 เมื่อแยกเป็นรายด้าน พบว่า  ด้านที่  1 ด้านแนวทางในการนำ  (Leading) และการบริหารจัดการและ โดยรวมอยู่ในระดับมาก   ครูมีการดำเนินงานความเป็นชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ อยู่ในระดับมาก  ด้านที่ 2 วิธีแก้ปัญหาและการตัดสินใจ  ครูมีการดำเนินงาน ความเป็นชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ อยู่ในระดับมาก  ด้านที่ 3 การเรียนรู้ ครูมีการดำเนินงาน ความเป็นชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ อยู่ในระดับมาก ด้านที่ 4 เงื่อนไขเชิงโครงสร้าง ครูมีการดำเนินงาน ความเป็นชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ อยู่ในระดับมาก และลำดับสุดท้าย คือ ด้านที่ 5 สร้างสัมพันธ์ภาพกับชุมชน  ครูมีการดำเนินงาน ความเป็นชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ อยู่ในระดับมาก ตามลำดับ โดยสรุป ครูมีลักษณะความเป็นชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ คือ การรวมกลุ่มของบุคคลชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ครู ผู้บริหาร นักการศึกษา มาทำงานร่วมกันเพื่อ วางเป้าหมายร่วมกันสู่การเรียนรู้ของนักเรียน การร่วมมือรวมพลัง การชี้แนะการปฏิบัติงาน การสนทนาเชิงสะท้อนผลการปฏิบัติ การพูดคุยสนทนากันระหว่างครู ครูมีการแลกเปลี่ยนเทคนิคการสอน สื่อการสอน นำไปสู่การสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างครู           
Description: Doctor of Philosophy (Ph.D.)
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/447
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57010563007.pdf4.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.