Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/449
Title: The Development of a Learning Experience use of Multimedia to Development Small Muscle and Creative Thinking Students from Kindergarten Anuban 1
การพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ประกอบสื่อประสม เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1
Authors: Benjawan Kamma
เบญจวรรณ คำมา
Hemmin Thanapatmeemamee
เหมมิญช์ ธนปัทม์มีมณี
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: พัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
สื่อประสม
พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก
ความคิดสร้างสรรค์
develop Learning
Multimedia
Small muscle
creative thinking
Issue Date:  28
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The objectives of this research were 1) to The development of a learning experience, use of multimedia to development small muscle and creative thinking Students from kindergarten anuban 1 to achieve the efficiency criteria of 80/80, 2) to compare the development of fine motor skills of early childhood children before and after taught with the development of a learning experience, use of multimedia to development small muscle and creative thinking Students from kindergarten anuban 1using dependent sample t-test, 3) to study the creativity of students towards the development of a learning experience, use of multimedia to development small muscle and creative thinking Students from kindergarten anuban 1, and 4) to study students’ satisfaction towards the development of a learning experience, use of multimedia to development small muscle and creative thinking Students from kindergarten anuban 1. The results of this study indicated as follows: 1) The efficiency of the development of a learning experience, use of multimedia to development small muscle and creative thinking Students from kindergarten anuban 1 (E1/E2) was 84.33/86.8. 2) By analyzing the development of fine motor skills of early childhood children before and after taught with the development of a learning experience, use of multimedia to development small muscle and creative thinking Students from kindergarten anuban 1, strength, agility, flexibility, eye-hand coordination were related with a statistical significance level of .01, accepting the set hypothesis. 3) By analyzing the creativity of childhood children after taught with the development of a learning experience, use of multimedia to development small muscle and creative thinking Students from kindergarten anuban 1, the creativity of the students (86.42%) was at a high level with a mean of 3.45. 4) By evaluating students’ satisfaction with the development of a learning experience, use of multimedia to development small muscle and creative thinking Students from kindergarten anuban 1, students were satisfied with the content (92.68%), instructional media and materials (95.12%), and presentation technique (97.56%).
การวิจัยในครั้งนี้ มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ประกอบสื่อประสมเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ประกอบสื่อประสมเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 3) เพื่อศึกษาความคิดสร้างสรรค์ของเด็กนักเรียนที่มีต่อการพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ประกอบสื่อประสมเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของเด็กปฐมวัยที่มีต่อการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ประกอบสื่อประสมเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ประกอบสื่อประสม เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 84.33/86.8 2. ผลการวิเคราะห์พัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ประกอบสื่อประสมเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและความคิดสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 ด้านความแข็งแรงในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ด้านความคล่องแคล่วในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ด้านความยืดหยุ่นในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก และด้านการทำงานประสานความสัมพันธ์ของมือกับตาในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่ง เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ 3. ผลการวิเคราะห์ความคิดสร้างสรรค์ หลังได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ประกอบสื่อประสมเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 พบว่า นักเรียนมีระดับความคิดสร้างสรรค์ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.45 คิดเป็นร้อยละ 86.42 4. ผลการวิเคราะห์แบบประเมินความพึงพอใจต่อการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ประกอบสื่อประสมเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 พบว่า ผลการวิเคราะห์แบบประเมินความพึงพอใจการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ประกอบสื่อประสมเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 นักเรียน มีความพึงพอใจด้านเนื้อหา คิดเป็นร้อยละ 92.68 มีความพึงพอใจด้านสื่อและอุปกรณ์ในการเรียน คิดเป็นร้อยละ 95.12 มีความพึงพอใจด้านเทคนิคการนำเสนอ คิดเป็นร้อยละ 97.56
Description: Master of Education (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/449
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57010580031.pdf2.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.