Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/459
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJiraporn Kruewaengmonen
dc.contributorจิราพร เครือแวงมนth
dc.contributor.advisorThanarat Sripongngamen
dc.contributor.advisorธนารัตน์ ศรีผ่องงามth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-11-19T09:19:11Z-
dc.date.available2019-11-19T09:19:11Z-
dc.date.issued27/7/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/459-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research is aimed 1) to study elements and indicators of developing learning environment management guidelines in schools under the secondary educational service area office 24 2) to study the current and desired situations of learning environment management in schools under the secondary educational service area office 24 3) to develop learning environment management guidelines of schools under the secondary educational service area office 24. The sample of the study was divided into two group, the first was 419 consisted of 92 of schools directors and 327 of teachers who responsible for learning environment management, the second was 6 of administrators and teachers under the secondary educational service area office 24. The research instruments comprised of a questionnaire of current and desired situations of learning environment management in schools under the secondary educational service area office 24 and the interview questions. The statistics used was percentage, mean and standard deviation. The results showed that : 1. The results of the study revealed that the elements and indicators of developing learning environment guidelines of schools under the secondary educational service area office 24 were comprised of 3 elements and 50 indicators which were shown in the most level. 2. The current situations of learning environment management guidelines in schools under the secondary educational service area office 24 were shown in well level. When consider in each aspects, it shown that all aspect were well level which can be ordered respectively according to the mean as following; learning management, building, and administration. Moreover, the desired situations of learning environment management guidelines in schools under the secondary educational service area office 24 were shown in the most level of all aspects which can be ordered respectively according to the mean as following; administration, building and learning management. 3. The guidelines of learning environment management in schools under the secondary educational service area office 24 were shown that there were 3 aspects which comprised of 19 aspects of building, 15 aspects of learning management and 16 aspects of administration.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดการพัฒนาแนวทางการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ภายในสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 24 2) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ภายในสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 3) เพื่อการพัฒนาแนวทางการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ภายในสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 92 คน และ ครูผู้สอน (ครูปฏิบัติงานการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้) จำนวน 327คน รวม 419 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์แนวทางการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ภายในสำหรับสถานศึกษา สำหรับแนวทางการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ภายในสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน (ครูปฏิบัติงานการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้) จำนวน 6 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบและตัวชี้วัดแนวทางการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ภายในสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ 50 ตัวชี้วัด โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด 2. สภาพปัจจุบันของแนวทางการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ภายในสำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 โดยรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านอาคารสถานที่และด้านการบริหาร ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ของแนวทางการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ภายในสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 24 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้านโดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการบริหารด้านอาคารสถานที่ และด้านการจัดการเรียนรู้ 3. แนวทางการดำเนินแนวทางการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ภายในสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 มีแนวทางการดำเนินงาน 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านอาคารสถานที่ จำนวน 19 ข้อ 2) ด้านการจัดการเรียนรู้ จำนวน 15 ข้อ และ 3) ด้านการบริหาร จำนวน 16 ข้อth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาth
dc.subjectการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้th
dc.subjectDevelopingen
dc.subjectLearning Environment Managementen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Developing of Learning Environment Management Guidelines in Schools Under the Secondary Educational Service Area Office 24en
dc.titleการพัฒนาแนวทางการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ภายในสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 24th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57010586006.pdf3.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.