Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/463
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSupreeya Chinpawoen
dc.contributorสุปรียา ชินพะวอth
dc.contributor.advisorSurachet Noiriden
dc.contributor.advisorสุรเชต น้อยฤทธิ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-11-19T09:25:14Z-
dc.date.available2019-11-19T09:25:14Z-
dc.date.issued31/7/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/463-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research has three aims: 1) to study the current conditions,desirable conditions and priority needs index of strategic management in school administrators under the jurisdiction of Secondary Education Service Area, Office 25; 2) to study guidelines for developing strategic leadership in school administrators under the jurisdiction of Secondary Education Service Area, Office 25. The research sample was composed of 74 school directors from schools under the jurisdiction of Secondary Education Service Area, Office 25. Data was collected in two phases. In the first phase, an evaluation form with a five-point rating scale was used to assess the suitability of components and indicators of strategic management and a three-part questionnaire was used, combining checklist, open-ended and 5-point rating-scale questions in school administrators under the jurisdiction of Secondary Education Service Area, Office 25. In the second phase, an evaluation form with a five-point rating scale was used to assess the developing guidelines for strategic management in school administrators. The statistics used for analysis were average, standard deviation and a modified priority needs index. Results show that there are 3 components of strategic management in school administrators under the jurisdiction of Secondary Education Service Area, Office 25. These were rated at the highest level of suitability (X̄ = 4.71). In order of average, from highest to lowest, the components were Component 3 (Control and Evaluation of Strategies, X̄ = 4.75), Component 1 (strategy formulation, X̄ = 4.69) and Component 2 (Implementation of Results show that there are 3 components of strategic management in school administrators under the jurisdiction of Secondary Education Service Area, Office 25. These were rated at the highest level of suitability (X̄ = 4.71). In order of average, from highest to lowest, the components were Component 3 (Control and Evaluation of Strategies, X̄ = 4.75), Component 1 (strategy formulation, X̄ = 4.69) and Component 2 (Implementation of Strategies, X̄ = 4.68). The current and desirable conditions of each component of strategic management in school administrators under the jurisdiction of Secondary Education Service Area, Office 25 were then assessed. The current level of Component 1 was found to be at a high level (X̄ = 3.82). The desired level of Component 1 was found to be at the highest level  (X̄ = 4.66). The current level of Component 2 was found to be at a high level (X̄ = 3.80). The desired level of Component 2 was found to be at the highest level (X̄ = 4.63). The current level of Component 3 was found to be at a high level (X̄ = 3.82). The desired level of Component 3 was found to be at the highest level (X̄ = 4.63). Overall, the suitability of developing guidelines for strategic management in school administrators under the jurisdiction of Secondary Education Service Area, Office 25 were evaluated at a high level. The possibility of the guidelines was evaluated at the highest level. When considering the suitability and possibility of each guideline in order from highest to lowest, it was found that each area had the same overall level. That is, guidelines for strategy formulation were rated at the highest level, as were guidelines for implementation of strategies and guidelines for control and evaluation of strategies.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นในการบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 2) เพื่อพัฒนาแนวทางการบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 ผู้บริหารจำนวน 74 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1แบบประเมินความเหมาะสมองค์ประกอบและตัวชี้วัด แบบประเมินสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 โดยเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ระยะที่ 2 แบบประเมินการพัฒนาแนวทางการบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย  ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ดัชนีความต้องการจำเป็นที่ปรับปรุง ผลการวิจัยพบว่า 1. การศึกษาองค์ประกอบและตัวชี้วัดของการบริหารเชิงกลยุทธ์ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 ระดับความเหมาะสมองค์ประกอบและตัวชี้วัดของการบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 โดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.71 และแต่ละองค์ประกอบเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยพบว่า อันดับแรก คือ องค์ประกอบด้านที่ 3 ด้านการควบคุมและการประเมินกลยุทธ์ อยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.75 รองลงมาอันดับสอง คือ องค์ประกอบด้านที่ 1 ด้านการกำหนดกลยุทธ์ อยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.69 และอันดับสุดท้าย คือ องค์ประกอบด้านที่ 2 ด้านการนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ อยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.68 2. การศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 โดยแบ่งแยกดังนี้ ด้านที่ 1 สภาพปัจจุบันโดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.82 ส่วนสภาพที่พึงประสงค์โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.66 ด้านที่ 2 สภาพปัจจุบันโดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.80 ส่วนสภาพที่พึงประสงค์โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.63 ด้านที่ 3 สภาพปัจจุบันโดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.82 ส่วนสภาพที่พึงประสงค์โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.63 3. การพัฒนาแนวทางการบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับ มาก และความเป็นไปได้ อยู่ในระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาความเหมาะสมความเป็นไปได้เป็นรายด้านเรียงลำดับค่าเฉลี่ยมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด พบว่า ทุกด้านมีความสอดคล้อง เช่นเดียวกัน นั่นคือ ด้านการกำหนดกลยุทธ์ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านการนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ และอันดับสุดท้ายคือ ด้านการควบคุมและการประเมินกลยุทธ์  th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาแนวทางth
dc.subjectการบริหารเชิงกลยุทธ์th
dc.subjectผู้บริหารสถานศึกษาth
dc.subjectDevelopment Guidelinesen
dc.subjectStrategic Managementen
dc.subjectSchool Administratorsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment Guidelines for Strategic Management of Educational Manager in School Administrators under the Jurisdiction of Secondary Education Service Area Office 25  en
dc.titleการพัฒนาแนวทางการบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57010586052.pdf3.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.