Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/475
Title: The Causal Factor and Guidelines The Development of Creative Problem Solving for Grade 10 Students the Area Office of High School Zone 21
ปัจจัยเชิงสาเหตุและแนวทางการพัฒนาการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 21
Authors: Siwan Awata
ศิวรรณ อะวะตา
Yannapat Seehamongkon
ญาณภัทร สีหะมงคล
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: ปัจจัยเชิงสาเหตุ
การพัฒนา
การคิดแก้ปัญหา
Causal Factors
Development
Problem Solving
Issue Date:  18
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: The purpose of this research were 1) develop the causal factors model direct–indirect influence in creative problem-solving process of Secondary high school 4 2) study the influence of independent variable to creative problem-solving process of Secondary high school 4 3) study development guidelines of creative problem-solving process of Secondary high school 4. This research is tested multi-stage sampling with the sample group of 800 students Secondary high school 4 in 2019, Secondary Educational Service Area 21. The Research Instruments are 1) creative problem-solving process test. the reliability .910 2) There are 5 types of Factor measure such as study attitude test ,the achievement motivation test, self-concept test, Internal locus of control test, interested in class test. The reliability are .901, .919, .879, .832, .800. and 3) interview. Structural Equation Modeling with LISREL Program.  The results revealed that : 1. The measurement model is valid and well fitted to empirical data X2 = 68.504, df = 53, X2/df = 0.989, p = 0.07447, CFI = 0.999, GFI = 0.993, AGFI = 0.916, RMSEA = 0.0191, RMR = 0.0154. 2. The variable directly influencing in creative problem-solving process that study attitude. The variable both directly and indirectly influencing that achievement motivation, Internal locus of control, study attitude, and self-concept. 3. And development guidelines in creative problem-solving process by using hands-on learning. Knowing how to determine the problem, searching for idea, choosing problem-solving strategy, evaluation, apply and co-operate. That for creative problem-solving skill.
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาโมเดลปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมต่อการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 2) ศึกษาอิทธิพลของตัวแปรอิสระที่ส่งผลต่อการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2561 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 21 จำนวน 800 คน โดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบทดสอบการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .910 2) แบบวัด มี 5 ฉบับ ได้แก่ แบบวัดเจตคติต่อการ แบบวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ แบบวัดมโนภาพแห่งตน แบบวัดความเชื่ออำนาจภายในตนเอง และแบบวัดความสนในเรียน มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .901, .919, .879, .832 และ .800 ตามลำดับ และ 3) แบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง โดยใช้โปรแกรมลิสเรล ผลการวิจัยพบว่า 1. โมเดลที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจาก X2 = 68.504, df = 53, X2/df = 0.989, p = 0.07447, CFI = 0.999, GFI = 0.993, AGFI = 0.916, RMSEA = 0.0191, RMR = 0.0154 2. ปัจจัยที่มีอิทธิพลทางตรงต่อการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์คือ เจคติต่อการเรียน ปัจจัยที่มีอิทธิพลทั้งทางตรงและทางอ้อมคือ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ความเชื่ออำนาจภายในตน ความสนใจเรียน และมโนภาพแห่งตน 3. แนวทางการพัฒนาทักษะการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ โดยครูผู้สอนจะต้องมีรูปแบบการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติจริง รู้จักวิธีการกำหนดปัญหา การค้นหาความคิด การเลือกกลวิธีในการแก้ปัญหา การประเมินผล การประยุกต์ใช้และการร่วมมือกันปฏิบัติ และนักเรียนจึงจะเกิดการคิดแก้ปัญหาอย่างสรรค์
Description: Master of Education (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/475
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57030581014.pdf2.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.