Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/488
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNawaporn Thamkitchawaten
dc.contributorนวพร ธรรมกิจวัฒน์th
dc.contributor.advisorManit Asanoken
dc.contributor.advisorมานิตย์ อาษานอกth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-11-19T09:35:09Z-
dc.date.available2019-11-19T09:35:09Z-
dc.date.issued15/7/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/488-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aims to 1) to study the state of current conditions and the desirable conditions of the Chinese instruction of the private education under Buriram Provincial Education Office 2) to develop the guidelines of the Chinese instruction of the private education under Buriram Provincial Education Office This research is conducted into two phases: Phase 1, to study the state of current conditions the desirable conditions of the Chinese instruction of the private education under Buriram Provincial Education Office. Phase 2, to develop the guidelines of the Chinese instruction of the private education under Buriram Provincial Education Office by collecting data from the 217 sample group and evaluated by five experts. Research results appear as follows. 1. The state of current conditions the desirable conditions of the Chinese instruction of the private education under Buriram Provincial Education Office. In overall was at high level, when considering each aspect, it was found that all aspects were at the same level. For the state of the desirable conditions of the Chinese instruction of the private education under Buriram Provincial Education Office, which is included in the highest level when considered in each aspects found that all aspects were at the highest level. The sort was averaged descending consecutive priorities including to the instruction media, the students center, course management, the measurement and evaluation and learning activity respectively. 2. The guidelines of the Chinese instruction of the private education under Buriram Provincial Education Office found that there are 7 for the instruction media, 7 development guidelines for curriculum management, 8 guideline for the student’s center, 8 development guidelines for measurement and evaluation and there are 8 development guidelines on learning activity management. The results of the assessment of the suitability and feasibility of the Chinese language teaching and learning management for private schools under Buriram Provincial Education Office in the overall was at the highest level and the possibility is at the highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์การจัดการเรียนรู้ภาษาจีน สถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดบุรีรัมย์ และ 2) เพื่อพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน สถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดบุรีรัมย์ การวิจัยนี้ ดำเนินการวิจัยเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน สถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดบุรีรัมย์ ระยะที่ 2 การพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน สถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดบุรีรัมย์ โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 217 และประเมิน ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน สถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดบุรีรัมย์ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. สภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนสถานศึกษาเอกชนสังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดบุรีรัมย์ โดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าทุกด้านอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน สำหรับสภาพที่พึงประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนสถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดบุรีรัมย์ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด ลําดับความต้องการจำเป็นในการพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนสถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดบุรีรัมย์ เรียงลำดับจากมากไปน้อย คือ ด้านสื่อการเรียนรู้ ด้านผู้เรียนเป็นสำคัญ ด้านการบริหารหลักสูตร ด้านการวัดและประเมินผล และ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามลำดับ 2. การพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน สถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดบุรีรัมย์ พบว่า ด้านสื่อการเรียนรู้ มีแนวทางการพัฒนา 7 ข้อ ด้านการบริหารหลักสูตรมีแนวทางการพัฒนา 7 ข้อ ด้านผู้เรียนเป็นสำคัญมีแนวทางการพัฒนา 8 ข้อ ด้านการวัดและประเมินผลมีแนวทางการพัฒนา 8 ข้อ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีแนวทางการพัฒนา 8 ข้อ โดยผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนสถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดบุรีรัมย์โดยผู้ทรงคุณวุฒิโดยรวมมีความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนth
dc.subjectChinese Instructionen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleGuidelines for Chinese Instruction of the Private Education Institutions under Buriram Provincial Education Officeen
dc.titleการพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนสถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดบุรีรัมย์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59010586012.pdf2.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.