Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/495
Title: | Development teaching management program of Project - Based for Academic school Secondary Educational Service Area office 20 โปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 |
Authors: | Anutsara Wunthongchai อนุสรา วันธงไชย Suracha Amornpan สุรชา อมรพันธุ์ Mahasarakham University. The Faculty of Education |
Keywords: | โปรแกรมพัฒนาครู การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน Development teaching management program Project-based Learning Management |
Issue Date: | 9 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | This research aimed to 1) to study the current status and the desirable states of the learning based on project-based learning management for educational institutions Under the Office of Secondary Educational Service Area 20 2) to develop the program for developing teacher by learning based on project-based learning management for educational institutions Under the Office of Secondary Educational Service Area 20 The research study is a researching and development. Population of the research were 3,081 people that from administrators and teachers in Educational Institutions under Loei primary Education Service Area Office 2 during the semester of the 2018. The samples of this research study were 354 people by the method of assigning proportion is divided into teachers; 185 teachers from extra large school , 62 teachers from the large schools, 97 teachers from middle schools and 10 teachers from small schools all included 354 teachers. The research study consists of 2 phase.The 1st phase study on the current status and the desirable states of the learning based on Development teaching management program of Project-Based Learning for Academic school Secondary Educational Service Area office 20.The samples of the research study from teachers in Educational Institutions under Secondary Educational Service Area office 20 all included 354 people.Informants include: 5 experts. The research instrument was questionnaires. The statistics used in data analysis were mean, standard deviation. The 2nd phase to study the Development of teacher development programs for project-based learning management for educational institutions Under the Office of Secondary Educational Service Area 20. There are 5 experts who evaluate the program. The research instrument was Evaluation form. The statistics used in data analysis were mean, standard deviation.
The result showed that :
1. The results of the data analysis the current status and the desirable states of teacher development program for development programs for project-based learning management for educational institutions Under the Office of Secondary Educational Service Area 20 found by 6 experts the current status is in a few and the desirable status is excellent.
2. The results of development the teacher development program for development programs for project-based learning management for educational institutions Under the Office of Secondary Educational Service Area 20 found as a whole aspect, the appropriate is the highest level and the possibility is in the highest level.
In conclusion, the program that develop the teacher in Learning management of project-based learning management. Through self-development activities in many forms, such as 1) learning from real practice 2) learning from work 3) training 4) study visits Enabling teachers to exchange knowledge and lead to achieving mutual vision To change the paradigm in learning management with student center. Encourage the studentsto create knowledge by themselves and emotional development, social,intelligence and scientific process. ในการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์การพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน สำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 20 2) เพื่อพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน สำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 20 การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา ประชากรได้แก่ ผู้บริหารและครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 20 จำนวน 3,081 คน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 ปีการศึกษา 2561 จํานวน 354 คน จากนั้นใช้วิธีการกำหนดตามสัดส่วนแบ่งเป็นครูโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ จำนวน 185 คน ครูโรงเรียนขนาดใหญ่จำนวน 62 คน ครูโรงเรียนขนาดกลางจำนวน 97 คนและครูโรงเรียนขนาดเล็กจำนวน 10 คน โดยดำเนินการแบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ของการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน สำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 20 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 ปีการศึกษา 2561 จํานวน 354 คน กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระยะที่ 2 การพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน สำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 20 ผู้ประเมินความถูกต้องเหมาะสมของโปรแกรม ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ ของโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน สำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 20 พบว่า สภาพปัจจุบันการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน สำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 20 โดยรวมทั้ง 6 ด้าน อยู่ในระดับน้อย สภาพที่พึงประสงค์การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน สำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 20 โดยรวมทั้ง 6 ด้าน อยู่ในระดับ มากที่สุด 2. ผลการพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน สำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 20 พบว่า ผลการประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้ ของโปรแกรมและเอกสารประกอบโปรแกรม พบว่า มีความเหมาะสมระดับมากที่สุด มีความเป็นไปได้ ระดับมากที่สุด โดยสรุป โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นเป็นโปรแกรมที่มุ่งพัฒนาครูในด้านการจัดการเรียนรู้การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน เช่น การเข้ารับการฝึกอบรม การประชุม ปรึกษาหารือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การนิเทศงาน และการสะท้อนข้อมูลย้อนกลับ ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้นำไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ร่วมกัน ผ่านกิจกรรมพัฒนาตนเองในหลายๆ รูปแบบ เพื่อปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ใหม่ด้านการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางส่งเสริมให้ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองพัฒนาทั้งด้านอารมณ์ สังคม สติปัญญา |
Description: | Master of Education (M.Ed.) การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/495 |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59030580052.pdf | 4.77 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.