Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/499
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorRapeepol Insupanen
dc.contributorรพีพล อินสุพรรณth
dc.contributor.advisorPrasart Nuangchalermen
dc.contributor.advisorประสาท เนืองเฉลิมth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-11-19T09:35:12Z-
dc.date.available2019-11-19T09:35:12Z-
dc.date.issued22/7/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/499-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe objectives of this study aims 1) to develop Scientific Creativity Thinking of Matthayomsuksa 4 students 2) to develop achievement of Matthayomsuksa 4 students by using inquiry-based learning with STEM education. Six lesson plans for 12 hours were created “Momentum and collision” . The target group in this study consisted of 21 Mattayomsuksa 4/2 students attending in Chiangyuen Pittayakom School. Research instruments were lesson plan, achievement test, sciencetific creativity thinking test and interview. The data were analyzed by percentage, mean, and standard deviation. the results of research found that : 1. The first cycle process found that mean of the scientific creativity thinking of students were 7 students can pass 70 percentage of test and 14 students cannot pass criterion. The second cycle process 13 students can pass 70 percentage of test and 8 students cannot pass criterion. 2. The first cycle process found that mean of the learning achievement of students were 5 students can pass 70 percentage of test and 16 students cannot pass criterion. The second cycle process 9 students can pass 70 percentage of test and 12 students cannot pass criterion.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อพัฒนาการความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4  2) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 การวิจัยครั้งนี้ได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา เรื่อง โมเมนตัมและการชน ทั้งหมด 6 แผน 12 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมายคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรียนเชียงยืนพิทยาคม จำนวน 21 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ และแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฎดังนี้ 1.นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ในวงจรปฏิบัติการที่ 1 นักเรียนมีคะแนนความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 จำนวน 7 คน เเละไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 จำนวน 14 คน วงจรปฏิบัติการที่ 2 การจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาที่ได้พัฒนาปรับปรุงแก้ไขจากวงจรปฏิบัติการที่ 1 นักเรียนมีคะแนนความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 จำนวน 13 คน เเละไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 จำนวน 8 คน 2.นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ในวงจรปฏิบัติการที่ 1 นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 จำนวน 5 คน เเละไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 จำนวน 16 คน วงจรปฏิบัติการที่ 2 การจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาที่ได้พัฒนาปรับปรุงแก้ไขจากวงจรปฏิบัติการที่ 1 นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 จำนวน 9 คน เเละไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 จำนวน 12 คนth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectสะเต็มศึกษาth
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์th
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth
dc.subjectSTEM Educationen
dc.subjectScientific Creativity Thinkingen
dc.subjectLearning Achievementen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleEnhancement of Scientific Creativity Thinking and Achievement Academic in Physics of Mathayomsuksa 4 by Inquiry-based Learning with STEM Educationen
dc.titleการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60010556006.pdf2.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.