Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/506
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPeeradon Onseeen
dc.contributorพีรดลย์ อ่อนสีth
dc.contributor.advisorPrasart Nuangchalermen
dc.contributor.advisorประสาท เนืองเฉลิมth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2019-11-19T09:35:13Z-
dc.date.available2019-11-19T09:35:13Z-
dc.date.issued22/7/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/506-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis action research aims to develop the critical thinking and achievement in physics of grade 10 students using inquiry-based learning with STEM education. Target group consisted of 21 students who has a critical thinking problem and 20 student with achievement problem. The research instrument were 6 lesson plans, 20 items of critical thinking test with 4 multiple choices, and 40 items of achievement test with 4 multiple choices. The finding showed that                     1. The critical thinking of target group was 8.41 out of 20 point and the amount of target group was 21 student before use the inquiry-based learning with STEM education. The second spiral was finished, critical thinking increased to 12.2 point. The students who has not pass the 70 percent criteria was 5 students.                     2. The achievement of target group was 8.05 out of 20 point and the target group was 20 students before use the inquiry-based learning with STEM education. The second spiral was finished, the achievement increase to 9.67 point. The amount of students who has not pass the 70 percent criteria was 3 students.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการโดยมีวัตถุประสงค์​เพื่อพัฒนา​ความสามารถ​ในการคิดอย่างมี​วิจารณญาณ​ และผลสัมฤทธิ์​ทางการเรียนฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา​ปีที่ 4 โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา มีกลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนที่มีปัญหาคะแนนความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณจำนวน 21 คนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฟิสิกส์จำนวน 20 คน ตามลำดับ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา จำนวน 6 แผน 12 ชั่วโมง แบบวัดความสามารถในการคิดอย่างมี​วิจารณญาณ​แบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ และแบบวัดผลสัมฤทธิ์​ทางการเรียนเรื่องงานพลังงาน จำนวน 40 ข้อ ผลการวิจัยพบว่า           1. ความสามารถในการคิดอย่างมี​วิจารณญาณก่อนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 จำนวน 21 คน มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 10.67 คะแนน หลังจบวงจรปฏิบัติการที่ 2 นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 15.26 คะแนน มีนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 จำนวน 5 คน           2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฟิสิกส์ก่อนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 จำนวน 20 คน มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 10.88 คะแนนจากคะแนนเต็ม 20 คะแนน หลังจบวงจรปฏิบัติการที่ 2 นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์เฉลี่ยเท่ากับ 14.64 คะแนน มีนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 เหลือจำนวน 3 คนth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth
dc.subjectสืบเสาะหาความรู้th
dc.subjectสะเต็มศึกษาth
dc.subjectการคิดอย่างมีวิจารณญาณth
dc.subjectฟิสิกส์th
dc.subjectcritical thinkingen
dc.subjectachievementen
dc.subjectinquiry-based learningen
dc.subjectSTEM educationen
dc.subjectphysicsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment of Critical Thinking Skills and Academic Achievement in Physics of Mathayomsuksa 4 Student Using Inquiry-Based Learning with STEM Educationen
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60010556022.pdf2.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.