Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/508
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Chulalak Tippawon | en |
dc.contributor | จุฬาลักษณ์ ทิพวัน | th |
dc.contributor.advisor | Waraporn Erawan | en |
dc.contributor.advisor | วราพร เอราวรรณ์ | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Education | en |
dc.date.accessioned | 2019-11-19T09:35:13Z | - |
dc.date.available | 2019-11-19T09:35:13Z | - |
dc.date.issued | 22/8/2019 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/508 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | This objectives of this research were 1) to develop indicators of growth mindset for sixth grade students 2) to validate model growth mindset indicators for sixth grade students. The research was divided into two phases. The first phases developed factors and indicators of growth mindset indicator for sixth grade students by interviewing 9 experts. The first round used structured interviews. Data analysis was done through content analysis. The second phase verified consistent of model growth mindset indicator for sixth grade students. The sample was 982 students participated in this research. The research instrument used Growth Mindset measurement for sixth grade students in the second phase was 6-level rating scale questionnaire.Discrimination power is .200 to .646 and reliability is .903 .Data were analyzed by using descriptive statistics (mean, SD, skewness, kurtosis and CV) and Pearson’s correlation. Second order confirmatory factor analysis and multiple group structural equation model analysis was done using Mplus. The results were as follow: 1. Growth mindset for sixth grade students consisted of 7 factors were challenges needed, perseverance in learning, problem confronting, criticism in learning, intellectual potential developing abilities ,learning and inspiring by other’s achievements, and high responsibility in self-learning. Moreover, there were including 16 indicators; risk accepting, recognizing on the benefit of challenges, desired learning, committed to learning, useing effort, self-improving on problem, failure analyzing, committed to problem solving and obstacles, listen to criticism, improve and develop, development the learning potential of the brain, development potential of thinking, seek and learn the success of others, conducting experience and success to others, learning and self-development, responsibility for learning. 2. The growth mindset indicator model for sixth grade students found that the model fits the empirical data (Chi-Square = 79.213, df = 82 , P-value = 0.5667, CFI = 1.000, TLI = 1.002, RMSEA = 0.017, SRMR = 0.021 และ Chi-Square / df = 0.966) | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาตัวบ่งชี้กรอบความคิดแบบเติบโต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 2) ตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลตัวบ่งชี้กรอบความคิดแบบเติบโต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ผู้วิจัยดำเนินการวิจัย 2 ระยะ ระยะแรกเป็นการพัฒนาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้กรอบความคิดแบบเติบโต ตามกรอบแนวคิดเบื้องต้นโดยการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิทั้งหมด 9 ท่าน เครื่องมือวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา และระยะที่สองเป็นการตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลตัวบ่งชี้กรอบความคิดแบบเติบโต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่6 โดยตัวอย่างจำนวน 892 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดกรอบความคิดแบบเติบโต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีลักษณะเป็นมาตรประมาณค่า 6 ระดับ มีค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ .200 - .646 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .903 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายและสถิติอ้างอิงการวิเคราะห์ ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความเบ้ ความโด่ง การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สองโดยใช้โปรแกรม Mplus ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. กรอบความคิดแบบเติบโต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มี 7 องค์ประกอบ คือ ชอบความท้าทาย ความเพียรพยายามในการเรียนรู้ กล้าเผชิญปัญหา เรียนรู้จากคำวิพากษ์วิจารณ์ ความสามารถในการพัฒนาศักยภาพทางปัญญา หาบทเรียนและแรงบันดาลใจจากความสำเร็จของผู้อื่น การแสดงออกและการรับผิดชอบในการเรียนรู้ตนเอง รวมถึง 16 ตัวบ่งชี้ คือ ยอมรับความเสี่ยง รับรู้ว่างานท้าทายเป็นโอกาสในการเรียนรู้ การเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ มุ่งมั่นในการเรียนรู้ ใช้ความพยายาม พยายามแก้ปัญหาและอุปสรรค การวิเคราะห์สาเหตุของความล้มเหลว มุ่งแก้ไขความผิดพลาด รับฟังการวิพากษ์วิจารณ์ ปรับปรุงและพัฒนา การพัฒนาศักยภาพทางการเรียนรู้ของสมอง การพัฒนาศักยภาพทางการคิดของตนเอง แสวงหาและเรียนรู้ความสำเร็จของผู้อื่น นำประสบการณ์ความสำเร็จผู้อื่นมาปรับใช้ การเรียนรู้และการพัฒนาตนเองต่อเนื่อง ความรับผิดชอบในการเรียนรู้ 2. โมเดลตัวบ่งชี้กรอบความคิดแบบเติบโต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (Chi-Square = 79.213, df = 82, P-value = 0.5667, CFI = 1.000, TLI = 1.002, RMSEA = 0.017, SRMR = 0.021 และ Chi-Square / df = 0.966) | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การพัฒนาตัวบ่งชี้ | th |
dc.subject | กรอบความคิดแบบเติบโต | th |
dc.subject | ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 | th |
dc.subject | development indicators | en |
dc.subject | growth mindset | en |
dc.subject | sixth grade students | en |
dc.subject.classification | Psychology | en |
dc.subject.classification | Psychology | en |
dc.title | Development Indicators of Growth Mindset for Sixth Grade Students | en |
dc.title | การพัฒนาตัวบ่งชี้กรอบความคิดแบบเติบโต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60010584008.pdf | 3.46 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.