Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/515
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAnuchit Rodjanacheewinsuponden
dc.contributorอนุชิต  โรจนชีวินสุภรth
dc.contributor.advisorVuthipong Roadkasamsrien
dc.contributor.advisorวุฒิพงษ์ โรจน์เขษมศรีth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Fine and Applied Artsen
dc.date.accessioned2019-11-19T09:37:38Z-
dc.date.available2019-11-19T09:37:38Z-
dc.date.issued20/7/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/515-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThis study is a qualitative research titled "Semiotic meaning of the Ways of Life in Mural Painting in Maha Sarakham Province Thailand "The area of study covered three temples; Potharam, Reirai and Banyang Temples. The study aimed at studying the background of murals in Maha Sarakham Province, analyzing and categorizing people's ways of life found in the murals as well as finding signs appeared in the murals. Data collecting was done by studying from documents and engaging in field trip. The research tools was survey, observation, interview and discussion by ten local people's representatives and three experts. They discussed to find meanings and selected pictures based on post structuralism theory which focuses on signs for dismembering and rebuilding to differentiate literature out of murals. Then only people's ways of life were studied.  188 pictures were selected based on structural – functional theory and then they were divided into three groups; family's way of life, community's way of life and physical environment pictures. Then they were analyzed to find two sampling groups in nine pictures by analyzing signs from content, denotative meaning and connotative meaning based on semiotics theory by Ferdinand de Saussure. The results showed that the murals were created between 1907-1922. The painters conveyed people's ways of life in three forms; 1. they inserted people's way of life into literature, 2. they painted people's way of life in specific areas of the murals and 3. they freely painted the murals whose signs found in people's ways of life were shown through their tools, postures, body language, clothes, roles in society, sex and social status in their daily life.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เรื่อง "ความหมายเชิงสัญญะจากภาพวิถีชีวิตชาวบ้านในจิตรกรรมฝาผนัง จังหวัดมหาสารคาม" ในพื้นที่การศึกษา จำนวน 3 วัด ได้แก่ วัดโพธาราม วัดป่าเรไรย์ และวัดบ้านยาง โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของการเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังในจังหวัดมหาสารคาม เพื่อวิเคราะห์และจัดหมวดหมู่ภาพวิถีชีวิตชาวบ้านของจิตรกรรมฝาผนัง และเพื่อหาสัญญะความหมายที่ปรากฏจากภาพวิถีชีวิต ในการศึกษาข้อมูลใช้วิธีการศึกษาจากเอกสารและการลงพื้นที่ภาคสนาม โดยใช้เครื่องมือ แบบสำรวจ สังเกต สัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่ม โดยคัดเลือกชาวบ้านผู้รู้ เป็นตัวแทนชุมชนจำนวน 10 คน และนักวิชาการที่เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน มาทำการสนทนาหาความหมาย การเลือกประชากรภาพ ใช้แนวคิดทฤษฎีหลังโครงสร้างนิยม ที่ให้ความสำคัญกับรูปสัญญะมาใช้ในการรื้อสร้าง เพื่อแยกระหว่างเรื่องที่เป็นวรรณกรรมกับภาพจิตรกรรมฝาผนังออกจากกัน แล้วเลือกทำการศึกษาเฉพาะภาพวิถีชีวิต โดยคัดเลือกประชากรภาพได้ จำนวน 188 ภาพ ใช้ทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่ แบ่งภาพออก ได้ 3 กลุ่ม คือ ภาพวิถีครอบครัว ภาพวิถีชุมชน และภาพที่เป็นสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และนำไปวิเคราะห์หากลุ่มตัวอย่างได้ 2 กลุ่ม จำนวน 9 ภาพ โดยใช้วิธีการวิเคราะห์หาความหมายโดยผ่านเรื่องรูปแบบเนื้อหา ความหมายโดยอรรถและความหมายโดยนัย ตามกรอบทฤษฎีสัญญะวิทยา ของแฟร์ดิน็องเดอโซซูร์ ผลการวิจัย พบว่าภาพจิตรฝาผนังในพื้นที่การศึกษาเขียนขึ้นในช่วง พ.ศ. 2450 - 2465 ช่างเขียนใช้วิธีการการสื่อภาพวิถีชีวิตออกมาให้เห็นได้ 3 รูปแบบ คือ 1) รูปแบบการเขียนภาพแทรกลงไปกับวรรณกรรม 2) รูปแบบที่จัดแบ่งพื้นที่โดยเฉพาะ 3) เป็นแบบภาพอิสระ โดยสัญญะที่พบในภาพวิถีชีวิตของชาวบ้านแสดงออกมาจากสิ่งของเครื่องใช้ ท่าทาง ภาษากาย เครื่องแต่งกาย บทบาทหน้าที่ เพศ ชนชั้น ที่อยู่ในวิถีชีวิตประจำวันth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectสัญญะth
dc.subjectภาพวิถีชีวิตth
dc.subjectจิตรกรรมฝาผนังth
dc.subjectSignen
dc.subjectWays of Lifeen
dc.subjectMural Paintingen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleSemiotic Meaning of the Ways of Life in Mural Painting in Maha Sarakham Province Thailanden
dc.titleความหมายเชิงสัญญะจากภาพวิถีชีวิตชาวบ้านในจิตรกรรมฝาผนัง จังหวัดมหาสารคามth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Fine and Applied Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56010660008.pdf29.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.