Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/545
Title: | The Development of Motion interactive infographic using the Participatory Design to assist in explaining the Philosophy of Sufficiency Economy การพัฒนาสื่อปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบอินโฟกราฟิก โดยใช้แนวคิดการออกแบบอย่างมีส่วนร่วมเพื่ออธิบายหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง |
Authors: | Ekkaluck Saengduenchay เอกลักษณ์ แสงเดือนฉาย Pongpipat Saithong พงษ์พิพัฒน์ สายทอง Mahasarakham University. The Faculty of Informatics |
Keywords: | สื่อปฏิสัมพันธ์ โครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข” ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การออกแบบอย่างมีส่วนร่วม Interactive media Sufficiency economy village project “Yuyen Pensook” philosophy of sufficiency economy Participatory design |
Issue Date: | 17 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | This research aimed to 1) to study and analyze Structure and content of the sufficiency economy philosophy in the Sufficiency Economy Village project " Yuyen Pensook " for use as a guideline for interactive media design, 2) Developing an interactive infographic media using the participatory design to assist in explaining the philosophy of sufficiency economy, 3) To evaluate the development of interactive media prototypes, and 4) To study the perception of the sufficiency economy philosophy in the form of interactive media.
The sample group was a group of 6 experts and 30 community leaders who participated in Mahasarakham Sufficiency Economy Village project, which was selected by accidental sampling method. The research tools included: 1) questionnaire, 2) observation form, 3) in-depth interview with expert group, 4) Interactive media prototype, 5) The media quality assessment by experts, and 6) The media quality assessment with the samples. The statistics used in data analysis were mixed quality and quantity, domain analysis, frequency statistics, standard division SD, and rating scale estimation statistics. The results of the data analysis regarding the experts and 30 samples found that the samples were satisfied with the interactive infographic media using the participatory design to assist in explaining the philosophy of sufficiency economy. The analytical result of the media quality evaluation by the experts found that the average 4.41 or referring to the highest quality. The analytical result of the satisfaction evaluation found that the average 4.46 referring to the highest satisfaction level. การวิจัยครั้งมีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษา โครงสร้างและเนื้อหาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข”2) เพื่อพัฒนาสื่อปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบอินโฟกราฟิก โดยใช้แนวคิดการออกแบบอย่างมีส่วนร่วม 3) เพื่อประเมินผลการพัฒนาสื่อปฏิสัมพันธ์ต้นแบบ 4) เพื่อศึกษาการรับรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจาก สื่อปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบอินโฟกราฟิก กลุ่มตัวอย่างคือกลุ่มผู้เชี่ยวชาญจำนวน 6 คน และแกนนำชุมชนที่เข้าร่วมในโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข” ของจังหวัดมหาสารคาม จำนวน 30 คน โดยใช้วิธีการเลือกด้วยเทคนิคการสุ่มแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามความต้องการ 2) แบบสังเกตการณ์ 3) แบบสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ 4) สื่อปฏิสัมพันธ์ต้นแบบ 5) แบบประเมินคุณภาพสื่อโดยผู้เชี่ยวชาญ 6) แบบประเมินคุณภาพสื่อต้นแบบกับกลุ่มตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลจะอยู่ในรูปแบบผสมทั้งคุณภาพและปริมาณ ได้แก่ การสกัดกลุ่มคำสำคัญ สถิติค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนร้อยละ ผลของการวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ และกลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คนพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจสื่อปฏิสัมพันธ์ในรูปแบบอินโฟกราฟิก โดยใช้แนวคิดการออกแบบอย่างมีส่วนร่วมเพื่ออธิบายหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและผลการวิเคราะห์การประเมินคุณภาพสื่อโดยผู้เชี่ยวชาญพบว่ามีค่าเฉลี่ย 4.41 หรืออยู่ในเกณฑ์คุณภาพดีมากส่วนผลการวิเคราะห์ความพึงพอของกลุ่มตัวอย่างพบว่ามีค่าเฉลี่ย 4.46 หรืออยู่ในระดับมีความพึงพอใจดีมาก |
Description: | Master of Science (M.Sc.) วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/545 |
Appears in Collections: | The Faculty of Informatics |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58011285003.pdf | 9.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.