Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/56
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSrisukhon Promsoen
dc.contributorศรีสุคล พรมโสth
dc.contributor.advisorSisikka Wannajunen
dc.contributor.advisorซิสิกกา วรรณจันทร์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. Faculty of Cultural Scienceen
dc.date.accessioned2019-08-08T08:10:04Z-
dc.date.available2019-08-08T08:10:04Z-
dc.date.issued19/12/2018
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/56-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThis qualitative research aimed to study; 1) The generality of the National Artist’s Houses. 2) The characteristics of National Artist's Houses, Literature, Visual Arts and Performing Arts. And 3) The development of National Artist's Houses to Arts and Culture Learning Centers. Research areas are the National Artist House, opened by The Department of Cultural Promotion between 2005 and 2016 and one national artist house from each branch through established criteria, Mr.Kukrit Pramoj’s House is the representative of the literary branch, Mr. Thawee Rajaneekorn’s House is the representative of the visual arts and Mr. Suchart Subsin’s House is the representative of the performing arts. This research using participatory and non-participatory observations and in-depth interviews collected data from 115 of those knowledgeable about the National Artist’s Houses, group discussion and workshops. Data analysis was conducted by categorizing, interpreting and making conclusions. The research found: 1) The National Artist’s House is a learning resource center as museum type  to display the knowledge of national artist by opening the services to the public and those interested in visiting  by non-profit is intended to maintain the arts and culture of the nation. 2) The style of each home varies, depending on the location, local culture and tastes, and branches have been praised. The main thing is that there will be space for arts and cultural activities.  3) National Artist’s House needs to develop a home style, Disseminating work, activities and personnel in the home. In particular, government agencies should encourage home artists, to enhance skills in various aspects of the home staff. In conclusion, Government agencies must promote the National Artist's Houses, although it is not funded by the government, and improve management skills for personnel in the National Artist's Houses, also asking for cooperation with relevant agencies in the provinces to link the National Artist's Houses with other nearby attractions. It motivates people to visit and makes money for them. Support the National Artist’s Houses to become the outside classroom learning resources to make children and youth aware of the value and importance of the National Artist’s Houses.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปของบ้านศิลปินแห่งชาติ 2) วิเคราะห์ลักษณะรูปแบบบ้านของศิลปินแห่งชาติ 3 สาขา ได้แก่ วรรณศิลป์ ทัศนศิลป์ และศิลปะการแสดง และ 3 ) พัฒนาบ้านศิลปินแห่งชาติให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทางด้านศิลปะและวัฒนธรรม โดยศึกษาจากบ้านศิลปินแห่งชาติ ที่เข้าร่วมโครงการเปิดบ้านศิลปินแห่งชาติ กับกรมส่งเสริมวัฒนธรรม ระหว่างปีพุทธศักราช 2548–2559 และคัดเลือกบ้านศิลปินแห่งชาติ สาขาละ 1 แห่ง ที่มีความพร้อมตามเกณฑ์ที่กำหนด โดย บ้าน ม.ร.ว.คึกฤทธิ์  ปราโมช เป็นตัวแทนของสาขาวรรณศิลป์  บ้านนายทวี  รัชนีกร เป็นตัวแทนของสาขาทัศนศิลป์ และ บ้านนายสุชาติ ทรัพย์สิน เป็นตัวแทนของสาขาศิลปะการแสดง ทำการศึกษา โดยการสังเกตแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม การสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้ให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับประเด็นวิจัย จำนวน 115 คน การสนทนากลุ่ม และการประชุมเชิงปฏิบัติการ ทำการวิเคราะห์โดยนำข้อมูลมาจำแนกหมวดหมู่ ตีความ และสร้างข้อสรุป ผลการวิจัยพบว่า 1) บ้านศิลปินแห่งชาติ คือ แหล่งเรียนรู้ประเภทพิพิธภัณฑ์รูปแบบหนึ่ง ที่จัดแสดงผลงานและองค์ความรู้ของศิลปินแห่งชาติเจ้าของบ้าน โดยเปิดบริการให้สาธารณชนและผู้ที่สนใจเข้ามาเยี่ยมชมใช้บริการโดยไม่หวังผลกำไร มีจุดมุ่งหมายเพื่อต้องการรักษาไวซึ่งศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญของชาติ 2) ลักษณะรูปแบบของบ้านแต่ละแห่งแตกต่างกันออกไป  ขึ้นอยู่กับสถานที่ตั้ง วัฒนธรรมท้องถิ่น รสนิยมและสาขาที่ได้รับการประกาศยกย่อง แต่ทุกหลังจะมีพื้นที่สำหรับให้ผู้ที่สนใจทำกิจกรรมทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมร่วมกันได้ 3) บ้านศิลปินแห่งชาติต้องพัฒนารูปแบบบ้าน การเผยแพร่ผลงาน กิจกรรม และบุคลากรในบ้าน  ทั้งนี้ ภาครัฐที่เกี่ยวข้องควรเป็นตัวกลางในการเชื่อมโยงระหว่างบ้านศิลปินแต่ละหลัง มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลและเดินทางไปศึกษาดูงานที่บ้านศิลปินแห่งชาติหรือแหล่งเรียนรู้ทางด้านศิลปวัฒนธรรมอื่นๆ ที่ประสบความสำเร็จ เพื่อนนำมาเป็นแนวทางในการดำเนินงานของบ้านตนเองต่อไป โดยสรุป การพัฒนาบ้านศิลปินแห่งชาติให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทางด้านศิลปะและวัฒนธรรม ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน โดยเฉพาะหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ควรส่งเสริมให้บ้านศิลปินแห่งชาติสามารถอยู่ได้ แม้ไม่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐ เพิ่มทักษะในด้านต่าง ๆ  ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาบ้านศิลปินแห่งชาติ ให้แก่บุคลากรในบ้าน สร้างแรงจูงใจให้ประชาชนทั่วไปเข้ามาเยี่ยมชมและสนับสนุนให้บ้านศิลปินแห่งชาติเป็นแหล่งเรียนรู้นอกชั้นเรียน  เพื่อให้เด็กและเยาวชนตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของบ้านศิลปินแห่งชาติ สืบไปth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectบ้านศิลปินแห่งชาติth
dc.subjectแหล่งเรียนรู้ทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมth
dc.subjectNational Artist’s Housesen
dc.subjectArts and Culture Learning Centeren
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleDevelopment of National Artist's Houses to Arts and Culture Learning Centersen
dc.titleการพัฒนาบ้านศิลปินแห่งชาติให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Cultural Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56012162014.pdf10.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.