Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/597
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAtthaphol Rodkaewen
dc.contributorอรรถพล รอดแก้วth
dc.contributor.advisorPhanat Photibaten
dc.contributor.advisorพนัส โพธิบัติth
dc.contributor.otherMahasarakham University. Faculty of Cultural Scienceen
dc.date.accessioned2019-11-19T09:59:36Z-
dc.date.available2019-11-19T09:59:36Z-
dc.date.issued7/8/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/597-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThe purpose of the thesis was to study the history, current conditions, problems and adaptations of folk healers in the 21st century of Tai Dam ethnic group in northern Thailand’s health care by using a qualitative research method. Data were collected from January to December 2018 by using in-depth interviews from structured interviews, observations and group discussions is tool and method for collecting data from 3 groups informants; 55 people include Key Informant, Casual Informant and General Informant in ​Phitsanulok and Phichit provinces. Analyzing the data as content analysis and presenting descriptive analysis data.[อร1]  The study found that Tai Dam ethnic group in the research area had migrated from Phetchaburi province more than 100 years ago. The most social status is a minority which has beliefs and related to respect for spirits. They believed that ghosts influence the way of life and towards illness which has resulted in the continued existence of culture, traditions and rituals related to ghost beliefs. Social context in the 21st century changes in beliefs and illness thinking of Tai Dam ethnic groups and folk healers based on science more. In addition, folk healers has recently decreased. Especially folk healers who are witches and folk medicine together with the lack of continuation in the new generation. Nowadays, the roles and duties of the folk healers have been changed to be a ritual in order to remain the way of treating ghosts rather than treating disease according to changes in economic, social, culture, health policy and communication technology which is a supporting factor. Resulting in the adaptation of the folk healers in the research area in the 21st century to accepted other beliefs together with traditional beliefs, reduced the ceremony time, exchanged information through modern social media and used the treatment methods that are defined to treat in the psychological and social dimensions only.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาประวัติความเป็นมา สภาพปัจจุบัน ปัญหา และการปรับตัวของหมอพื้นบ้านในศตวรรษที่ 21 เพื่อการดูแลรักษาสุขภาพของกลุ่มชาติพันธุ์ไทดำภาคเหนือของไทย ใช้รูปแบบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมกราคม - เดือนธันวาคม 2561 โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกจากแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง การสังเกต และการสนทนากลุ่ม เป็นเครื่องมือและวิธีการในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลทั้ง 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้รู้ กลุ่มผู้ปฏิบัติ และกลุ่มทั่วไป ในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลกและจังหวัดพิจิตร จำนวน 55 คน โดยวิเคราะห์ข้อมูลแบบการวิเคราะห์เนื้อหา และนำเสนอข้อมูลแบบพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มชาติพันธุ์ไทดำในพื้นที่วิจัยได้อพยพมาจากจังหวัดเพชรบุรีมากกว่า 100 ปีก่อน สถานะทางสังคมส่วนมากเป็นกลุ่มผู้น้อย มีพื้นฐานความเชื่อที่ผูกพันและเกี่ยวข้องกับการนับถือผีโดยเชื่อว่าผีมีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตและต่อระบบคิดเรื่องการเจ็บป่วย ซึ่งส่งผลให้ยังคงมีวัฒนธรรม ประเพณี และพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อเรื่องผีปรากฏอยู่ในปัจจุบัน บริบทของสังคมในศตวรรษที่ 21 นำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงด้านความเชื่อและระบบคิดเรื่องการเจ็บป่วยของกลุ่มชาติพันธุ์ไทดำและหมอพื้นบ้านโดยมีฐานคิดในลักษณะของความเป็นวิทยาศาสตร์มากขึ้น อีกทั้งสถานภาพของหมอพื้นบ้านในปัจจุบันมีจำนวนลดน้อยลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งหมอพื้นบ้านที่เป็นหมอมดและหมอเมือง ร่วมกับการขาดการสืบสานในกลุ่มคนรุ่นใหม่ โดยในปัจจุบันบทบาทและหน้าที่ของหมอพื้นบ้านได้ถูกปรับเปลี่ยนสถานะให้เป็นเพียงผู้ประกอบพิธีกรรม เพื่อการคงอยู่ในวิถีปฏิบัติต่อผีมากกว่าการรักษาโรค ตามการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม นโยบายด้านสุขภาพ และเทคโนโลยีการสื่อสารที่เป็นปัจจัยสนับสนุน ส่งผลให้หมอพื้นบ้านในพื้นที่วิจัยเกิดการปรับตัวในศตวรรษที่ 21 เกี่ยวกับระบบคิดที่ยอมรับถึงความเชื่ออื่นร่วมกับความเชื่อแบบดั้งเดิม การยืดหยุ่นด้านอายุที่ลดลงในการทำพิธี การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านสื่อสังคมยุคใหม่ และวิธีการรักษาที่ถูกนิยามไว้เพื่อเป็นการดูแลรักษาความเจ็บป่วยในมิติด้านจิตใจและสังคมเท่านั้นth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการปรับตัวในศตวรรษที่ 21th
dc.subjectหมอพื้นบ้านth
dc.subjectชาติพันธุ์ไทดำภาคเหนือของไทยth
dc.subjectAdaptation of 21st Centuryen
dc.subjectFolk Healersen
dc.subjectTai Dam Ethnic Group in Northernen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Adaptation of 21st Century Folk Medicine for Health Care of Tai Dam Ethnic Group in Northern Thailanden
dc.title การปรับตัวของหมอพื้นบ้านในศตวรรษที่ 21 เพื่อการดูแลรักษาสุขภาพของกลุ่มชาติพันธุ์ไทดำภาคเหนือของไทยth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Cultural Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56012162016.pdf5.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.