Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/638
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPornchit Sornkosaen
dc.contributorพรจิต สอนโกษาth
dc.contributor.advisorLakkana Sariwaten
dc.contributor.advisorลักขณา สริวัฒน์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2020-05-19T06:35:11Z-
dc.date.available2020-05-19T06:35:11Z-
dc.date.issued31/8/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/638-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aimed 1) to study elements of student’s self-esteem 2) to study the current and desired situations and needs of student’s self-esteem 3) to investigate ways to develop teachers for enhancing student’s self-esteem and 4) to develop a program to strengthen teachers in enhancing student's self-esteem. The research divided into 4 phases, the first phase was studying elements of student’s self-esteem and assessing the suitability of elements through 5 luminaries, the second phase was studying the current and desired situations and needs of student’s self-esteem collected data from 360 class teachers and teachers of secondary schools under the Jurisdiction of the Secondary Educational Service Area Office 27, the third phase was studying ways to develop teacher for enhancing student’s self-esteem through key performance as administrators and teachers from 2 pilot schools, and the fourth phase was developing a program to strengthen teachers in enhancing student's self-Esteem for schools under the Jurisdiction of the Secondary Educational Service Area Office 27 and assessing the suitability and possibility of program through 5 luminaries. Descriptive statistics used in this research were mean, percentage and modified priority needs index.                             The result were found: 1)The elements of student’s self-esteem were 4 elements including self-reliance, self-confidence, accepting ownself as well as others and emotional management. 2) The current situations of student’s self-esteem overall were at moderate levels, desired situations of student’s self-esteem overall were at high levels. 3) Ways to develop teachers for enhancing student’s self-esteem were knowledge training, internal supervision, informal meeting, and job training. 4) The result of developing a program to strengthen teachers in enhancing student's self-esteem for schools under the Jurisdiction of the Secondary Educational Service Area Office 27 included 7 elements as follow; 1) program context 2) program plans and 3) implement activities. The result of program suitability assessed overall was at a high level, and the program possibility assessed overall was at highest level. en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียน 2) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียน 3) ศึกษาวิธีการพัฒนาครูในการเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียน และ 4) พัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูในการเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียน การวิจัยแบ่งออกเป็น 4 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 ศึกษาองค์ประกอบการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนและประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบโดยผู้ทรงคุณวุฒ 5 คน ระยะที่ 2 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือ ครูประจำชั้นและครูผู้สอนโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 จำนวน  360 คนระยะที่ 3  ศึกษาวิธีการพัฒนาครูในการเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียน ผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้บริหารและครูโรงเรียนต้นแบบ 2 โรงเรียน และระยะที่ 4  การพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูในการเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียน  สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 ประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโปรแกรม โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย  คือ  ค่าเฉลี่ย  ร้อยละ  และการวิเคราะห์หาค่าดัชนีความต้องการจำเป็น                         ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบของการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียน ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ดังนี้ การพึ่งพาตนเอง ความเชื่อมั่นในตนเองการยอมรับในตนเองและผู้อื่น การจัดการอารมณ์ 2)สภาพปัจจุบันการเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียน โดยรวมและรายด้านทุกด้าน  อยู่ในระดับปานกลาง  สภาพที่พึงประสงค์โดยรวมและรายด้านทุกด้าน อยู่ในระดับมาก 3) วิธีการพัฒนาครูในการเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียน ได้แก่ การอบรมให้ความรู้ การนิเทศภายใน การประชุมอย่างไม่เป็นทางการ และการฝึกปฏิบัติงานในงาน  4) ผลการพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูในการเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนสำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ ดังนี้ 1) บริบทของโปรแกรม  2)  แผนการดำเนินกิจกรรม  และ 3) การดำเนินกิจกรรมโดยได้รับการประเมินความเหมาะสมโดยรวม อยู่ในระดับมากและมีความเป็นไปได้โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด        th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการเห็นคุณค่าในตนเองth
dc.subjectโปรแกรมพัฒนาครูth
dc.subjectเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนth
dc.subjectSelf-Esteemen
dc.subjectTeachers Development Programen
dc.subjectStrengthen Student's Self-Esteemen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDeveloping a Program to Strengthen Teachers in Enhancing Student's Self-Esteem for Schools under the Jurisdiction of the Secondary Educational Service Area Office 27en
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมพัฒนาครูในการเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียน สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58010586061.pdf2.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.