Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/677
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Butsamas Masngammuang | en |
dc.contributor | บุษมาศ มาศงามเมือง | th |
dc.contributor.advisor | Pobsook Chamchong | en |
dc.contributor.advisor | พบสุข ช่ำชอง | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The College of Politics and Governance | en |
dc.date.accessioned | 2020-05-19T06:45:51Z | - |
dc.date.available | 2020-05-19T06:45:51Z | - |
dc.date.issued | 3/11/2019 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/677 | - |
dc.description | Master of Public Administration (M.P.A.) | en |
dc.description | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม.) | th |
dc.description.abstract | This research aims to study residents’ attachment to community in various dimensions. Also it aims to examine the influences of community attachment on community development. Tha Tum community, MahaSarakham province was selected as a case study. Documentary research, in-depth interviews were conducted to collect data. Key informants were 100 residents of Tha Tum. A thematic analysis was employed to analyse data. Findings show that Tha Tum residents’ attachment to community can be conceptualized in various dimensions: (1) Place: although Tha Tum is not recognized as an urban area but it is a suburb of MuangMahaSarakham. Hence, Tha Tum residents have a convenient transportation without relocating to the urban area (2) Sense of belonging: living in this community since they were born, most of the residents get engagement with this community. They perceive the community as a big family (3) Identity of the community: Tha Tum has his own local tradition called “The worship to LuangPhuThaworn, Khanng Rue Yaw (boat racing) and Lai Rue Fai (The lighting boat flowing). Working together to inherit these traditions allows the residents to build sense of ownership of this community (4) Career: most of the people are farmers, particularly a rice farmer, which is a tradition career of Tha Tum. Hence they would like to preserve this career by being a rice farmer in their community rather than leaving this area (5) Social relationship: although Tha Tum seems to be more urbanized, the sense of family relationship among community members and the sense of group are still there, which create community attachment. Moreover, findings show that Tha Tum residents’ attachment to community has influences on community development. For instance, it allows people to be more engaged with community’s activities and to collaboratively work together in developing the directions for sustainable community development. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาความผูกพันต่อชุมชนของประชาชนในมิติต่างๆ และเพื่อศึกษาความผูกพันต่อชุมชนที่ส่งผลต่อการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีชุมชนบ้านท่าตูม จังหวัดมหาสารคามเป็นกรณีศึกษาในการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้การวิจัยเอกสาร การสังเกตการณ์ และการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยผู้ให้ข้อมูลสำคัญคือประชาชนบ้านท่าตูมจำนวน 100 คน ในการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้แนวทางการวิเคราะห์แบบแก่นเนื้อหาสาระสำคัญ ผลการศึกษาพบว่า ประชาชนบ้านท่าตูมมีความผูกพันต่อชุมชนบ้านท่าตูมในมิติต่างๆ ได้แก่ 1. ด้านสถานที่ หมายถึงแม้บ้านท่าตูมจะมิใช่ชุมชนเขตเมืองแต่เป็นชานเมืองของเมืองมหาสารคาม ทำให้การคมนาคมสะดวกโดยไม่จำเป็นต้องย้ายถิ่นฐานเข้าไปอยู่ในเขตเมือง 2. ด้านความรู้สึกรักชุมชน ประชาชนส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในชุมชนตั้งแต่เกิด ทำให้มีความผูกพันกับคนในชุมชนเสมือนเป็นครอบครัวเดียวกัน 3. ด้านความเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน บ้านท่าตูมเป็นชุมชนที่มีประเพณีประจำท้องถิ่น คือ ประเพณีนมัสการหลวงปู่ถาวร แข่งเรือยาวไหลเรือไฟ การร่วมสืบทอดประเพณีดังกล่าวของคนในชุมชนสร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของชุมชนให้กับคนในชุมชน 4. ด้านหน้าที่การทำงานประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม คือ การทำนา ซึ่งเป็นอาชีพดั้งเดิมของคนในชุมชนจึงทำให้ไม่อยากละทิ้งชุมชนไป 5.ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม แม้บ้านท่าตูมจะกลายเป็นชุมชนกึ่งเมืองแต่ความสัมพันธ์แบบเครือญาติและการร่วมกลุ่มยังคงอยู่ซึ่งเป็นสิ่งทำให้คนในชุมชนผูกพันกับชุมชน นอกจากนี้ผลการศึกษาพบว่า ความผูกพันต่อชุมชนของประชาชนบ้านท่าตูมส่งผลต่อการพัฒนาท้องถิ่นในหลายด้าน อาทิ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน และการร่วมกันกำหนดทิศทางการพัฒนาของชุมชน ซึ่งนำไปสู่การกำหนดแนวทางการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | ความผูกพัน | th |
dc.subject | ชุมชน | th |
dc.subject | Attachment | en |
dc.subject | The Community | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | The Community Attachment in Peri-urban Context : The Case of Tha Tum, Maha Sarakham Province | en |
dc.title | ความผูกพันต่อชุมชนในบริบทแบบชนบทกึ่งเมือง : กรณีศึกษาชุมชนบ้านท่าตูม จังหวัดมหาสารคาม | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The College of Politics and Governance |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58011381502.pdf | 1.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.