Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/779
Title: Developing Guideline of Reflective Coaching Supervision in School Under Secondary Educational Service Area Office 26
การพัฒนาแนวทางการนิเทศภายในแบบชี้แนะสะท้อนคิด สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26
Authors: Jaruwan Chanaphan
จารุวรรณ์ ชนะพันธ์
Karun Kidrakarn
การันต์ กิจระการ
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: แนวทางการนิเทศภายใน
การนิเทศแบบชี้แนะสะท้อนคิด
Supervision Guideline
Reflective Coaching Supervision
Issue Date:  22
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: This research aimed at studying components of Reflective Coaching Supervision In School Under Secondary Educational Service Area Office 26, studying current conditions and desired conditions of Reflective Coaching Supervision and the guidelines for Reflective Coaching Supervision In School Under Secondary Educational Service Area Office 26. This research was divided into 3 stages In the first stage, the studying components of Reflective Coaching Supervision In School Under Secondary Educational Service Area Office 26 was conducted by 5 experts by evaluated form. The collected data were analyzed by means and standard deviation. In the second stage, current conditions and desired conditions were explored. The study sample include 321 school directors and teachers. The sample size was determined by using Krejcie and Morgan table by stratified random sampling. The tools employed for this stage were the current conditions of  Reflective Coaching Supervision questionnaire. The collected data were analyzed by means and standard deviation. In the final stage, Developing Guideline of Reflective Coaching Supervision In School Under Secondary Educational Service Area Office 26 was evaluated by 5 experts with evaluate form. The collected data were analyzed by means and standard deviation. The research results were as the following ;                      1. The components of Reflective Coaching Supervision include 9 components 1) Studying of current state and problems of internal supervision 2) Planning for internal supervision 3) Operating on internal supervision in school 4) Evaluation of Supervision 5) Sharing the results of internal supervision in school 6) Lesson day 7) Reflective 8) Debriefing.                                         2. The current condition of Reflective Coaching Supervision In School Under Secondary Educational Service Area Office 26 on the whole and each aspect were at a moderate level. For the desired conditions of Reflective Coaching Supervision In School Under Secondary Educational Service Area Office 26 on the whole and each aspect were at a highest level.                                  3. The studying of the Guideline of Reflective Coaching Supervision In School Under Secondary Educational Service Area Office 26 was found that 6 components of internal supervision include 1) Studying of current state and problems of internal supervision 2) Planning for internal supervision 3) Operating on internal supervision in school 4) Evaluation of Supervision 5) Sharing the results of internal supervision in school and 6) Process of Reflective Coaching Supervision In School Under Secondary Educational Service Area Office 26 include 6.1) Lesson day 6.2) Reflective 6.3) Debriefing 6.4) Follow up and 6.5) test and evaluate internal supervision in school.
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาองค์ประกอบการนิเทศภายในแบบชี้แนะสะท้อนคิด สำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ ของการนิเทศภายในแบบชี้แนะสะท้อนคิด สำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 และเพื่อพัฒนาแนวทางการนิเทศภายในแบบชี้แนะสะท้อนคิด สำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 การวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบการนิเทศภายในแบบชี้แนะสะท้อนคิดสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 กลุ่มเป้าหมายได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน เครื่องมือที่ใช้คือแบบประเมิน ระยะที่ 2 การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ ของการนิเทศภายในแบบชี้แนะสะท้อนคิดสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ผู้บริหารสถานศึกษา และครูโรงเรียนมัธยมศึกษา จำนวน 321 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างใช้ตารางเครจซี่ และมอร์แกน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและแบบสอบถามสภาพที่พึงประสงค์ การนิเทศภายในแบบชี้แนะสะท้อนคิด สำหรับสถานศึกษา สถิติที่ใช้คือ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระยะที่ 3 การพัฒนาแนวทางการนิเทศภายในแบบชี้แนะสะท้อนคิดสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 กลุ่มเป้าหมายคือ ผู้บริหารสถานศึกษาจำนวน 3 ท่าน และผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์ แบบประเมิน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  ผลการวิจัย  พบว่า                                                                                     1.  องค์ประกอบการนิเทศภายในแบบชี้แนะสะท้อนคิด สำหรับสถานศึกษา ประกอบด้วย 8 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การวิเคราะห์สภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการในการนิเทศภายในสถานศึกษา 2) การวางแผนการนิเทศภายในสถานศึกษา 3) การปฏิบัติการนิเทศภายในสถานศึกษา 4) การติดตามและประเมินผลการนิเทศภายในสถานศึกษา 5) การเผยแพร่และขยายผลการนิเทศภายในสถานศึกษา 6) การศึกษากิจกรรมในห้องเรียน 7) การสะท้อนคิด 8) การอภิปรายร่วมกัน                                                                                                                              2. สภาพปัจจุบันการนิเทศภายในแบบชี้แนะสะท้อนคิดสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง สำหรับสภาพที่พึงประสงค์การนิเทศภายในแบบชี้แนะสะท้อนคิดสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด                           3. แนวทางการนิเทศภายในแบบชี้แนะสะท้อนคิดสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 สรุปได้ดังนี้ องค์ประกอบการนิเทศภายในสถานศึกษา 6 องค์ประกอบ ดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 การวิเคราะห์สภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการในการนิเทศภายในสถานศึกษา องค์ประกอบที่ 2 การวางแผนการนิเทศภายในสถานศึกษาแบบชี้แนะสะท้อนคิด องค์ประกอบที่ 3 การปฏิบัติการนิเทศภายในสถานศึกษา องค์ประกอบที่ 4 การติดตามและประเมินผลการนิเทศภายในสถานศึกษา องค์ประกอบที่ 5 การเผยแพร่และขยายผลการนิเทศภายในสถานศึกษา และ องค์ประกอบที่ 6 กระบวนการนิเทศภายในแบบชี้แนะสะท้อนคิดสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ซึ่งประกอบไปด้วยกระบวนการย่อย 5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนย่อยที่ 1 การเตรียมการนิเทศภายในแบบชี้แนะสะท้อนคิด ขั้นตอนย่อยที่ 2 การศึกษากิจกรรมในห้องเรียน ขั้นตอนย่อยที่ 3 การสะท้อนคิด ขั้นตอนย่อยที่ 4 การอภิปรายร่วมกัน  และขั้นตอนย่อยที่ 5 การทดสอบและติดตามผลการนิเทศ
Description: Master of Education (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/779
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57010586005.pdf3.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.