Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/833
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPrarattakong Kongnakuen
dc.contributorปรัตถกรณ์ กองนาคูth
dc.contributor.advisorPrasong Saihongen
dc.contributor.advisorประสงค์ สายหงษ์th
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-06-08T14:06:44Z-
dc.date.available2021-06-08T14:06:44Z-
dc.date.issued22/1/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/833-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractDeveloping academic management guidelines for small schools under office Kalasin Primary Educational Service Area 3 aims to 1) to study the current condition Desirable and Necessary Needs Academic Management for small schools Kalasin Primary Educational Service Area office 3 and 2) to develop management Guidelines Academic for small schools Under the Office of Kalasin Primary Educational Service Area 3 Divided into 2 phases, which are Phase 1 studies current conditions Desirable condition and needs Academic Management of a small school under the Office of Kalasin Primary Educational Service Area 3 Academic Year 2020 the sample were small school administrators. Head of Academic Affairs the small school of 144 students determined the sample size by using. Crazy and Morgan table and obtained by stratified randomness Consisting of 72 executives Head of Academic Affairs 72 people Phase 2 Develop guidelines for academic administration For school size Under the Kalasin Primary Educational Service Area Office 3 from a school study with Guidelines Best Practices in Academic Management Informants are the school director. Head of Academic Department of 6 people the tools used to collect data are Have an Interview Structure and assess the feasibility and development of academic management guidelines. For small schools Under the Office of Kalasin Primary Educational Service Area 3 by 9 experts analyzed the data using averages and standard Deviation. The research results were found that: 1. Study results of current condition Academic Administration for small schools the office of Kalasin Primary Educational Service Area 3 found that The overall current condition is moderate. Desirable condition, overall academic management is at a high level. And the order of needs necessary for academic administration for small schools Under the Office of Kalasin Primary Education Area 3 When considering each aspect, the order of needs is descending: teaching and learning management. Evaluation Research for educational development of educational institutions curriculum Development of quality assurance systems with in educational institutions Media development Educational innovation and technology Educational Supervision 2. Guidelines for academic administration for small schools under the area office Primary education in Kalasin Region 3 were appropriate and feasible at a high level. With developing guidelines for each aspect, namely the introduction of PDCA management to be adapted as follows: 1) the teaching and learning management is learning and teaching development planning. Instructional management must be consistent with the curriculum, content indicators, appropriate to the environment. Implementing the teaching management plan to manage all groups of learning subjects in every class according to the learning reform guideline with a focus on learners Evaluation of teaching and learning in all groups of subjects and improvement, development of teaching and learning in all subject groups 2) Educational research is planning research for educational development. Teachers in charge of research to improve educational quality can be put into practice. The school has a systematic assessment and monitoring of the implementation of the policy. to help suggest teachers to conduct research according to plans and policies with quality. 3) Evaluation measurement is to define rules and guidelines about the measurement of results. Encourage teachers to take measurements and assess results. Teaching and learning with an emphasis on real assessment of the practice processes and results. Develop measurement and evaluation tools to meet standards. 4) In the field of supervision within educational institutions, it is to plan to organize the internal supervision system of educational institutes in connection with the educational supervision system of the educational service area office. Organize academic supervision system and teaching and learning within educational institutions Conduct academic supervision and teaching and learning in a variety of ways and suitable for educational institutions Evaluate the systematization And the educational supervision process in educational institutions, following up and coordinating with the educational districts to develop the system and process of supervision for academic work and teaching of educational institutions. 5) Educational institution curriculum development is planning, creating a curriculum structure and various topics. Apply the curriculum to the teaching and learning management and to manage the appropriate course usage. Follow up on the use of the curriculum, improve and develop the curriculum as appropriate. Education policy objectives General purpose Content and number of hours teaching each subject method of teaching and learning activities Methods for Evaluation of Instructional Strategies, Curriculum Strategies. 6) Innovative media and educational technology, namely planning to encourage teachers to produce media Develop media and educational innovation for quality teaching and learning management Provide media and technology for use in teaching and learning. And develop academic work for coordination in production and procurement from various related department Evaluation of media use Innovation and technology development of innovative media and educational technology. 7) The development of quality assurance system within educational institutions is the administrators and the education quality assurance committee. must be jointly analyzed Standards and indicators that are assessed for the development of an education quality assurance system development plan. The school has a plan to develop an educational quality assurance system. in order to promote the operation to achieve the goals set. The school has promoted training to have knowledge. understanding of the process of developing an educational quality assurance system. Assessment results of academic management guidelines for small schools Under office Kalasin Primary Educational Service Area 3, with experts found that the suitability was at a high level. And the possibility of the approach is at a high level.en
dc.description.abstractการพัฒนาแนวทางการบริหารงานวิชาการ สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นการบริหารงานวิชาการ สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 และ 2) เพื่อพัฒนาแนวทางการบริหารงานวิชาการ สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 แบ่งเป็น 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพพึงประสงค์และความต้องการจำเป็นการบริหารงานวิชาการ ของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 ประจำปีการศึกษา 2563 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก หัวหน้าฝ่ายวิชาการโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 144 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ ตารางเครจซี่และมอร์แกนและได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) ประกอบด้วยผู้บริหาร 72 คน หัวหน้าฝ่ายวิชาการ 72 คน ระยะที่ 2 การพัฒนาแนวทางการบริหารงานวิชาการ สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 จากการศึกษาโรงเรียนที่มีแนวทางปฏิบัติที่เป็นเลิศด้านการบริหารงานวิชาการ (Best Practice) กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้อำนวยการโรงเรียน หัวหน้าฝ่ายวิชาการ จำนวน 6 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างและประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของการพัฒนาแนวทางบริหารงานวิชาการสำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐา ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาสภาพปัจจุบัน การบริหารงานวิชาการ สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 พบว่า สภาพปัจจุบันโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง สภาพที่พึงประสงค์การบริหารงานวิชาการทั้งโดยรวมอยู่ในระดับมาก และลำดับความต้องการจำเป็นการบริหารงานวิชาการ สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นทีการศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 เมื่อพิจารณารายด้านเรียงลำดับความต้องการจำเป็นจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการวัดผลประเมินผล ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาการศึกษา ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ด้านการนิเทศการศึกษา 2. แนวทางการบริหารงานวิชาการ สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก โดยมีการพัฒนาแนวทางแต่ละด้าน คือ การนำกระบวนการบริหาร PDCA เข้ามาปรับใช้ ดังนี้ 1) ด้านการจัดการเรียนการสอน คือ การวางแผนพัฒนาด้านการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนต้องมีความสอดคล้องกับหลักสูตร ตัวชี้วัด เนื้อหามีความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม การนำแผนการจัดการเรียนการสอนไปปฏิบัติจัดการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกช่วงชั้นตามแนวปฏิรูปการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การประเมินผลจัดการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระและการปรับปรุงพัฒนาจัดการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระ 2) ด้านการวิจัยทางการการศึกษา คือ วางแผนวิจัยเพื่อพัฒนาการศึกษา ครูผู้รับผิดชอบการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง โรงเรียนมีการประเมิน ติดตาม การดำเนินงานตามนโยบายอย่างเป็นระบบ เพื่อเป็นการให้ความช่วยเหลือ แนะนำให้ครูดำเนินการวิจัยตามแผนและนโยบายอย่างมีคุณภาพ 3) ด้านการวัด ประเมินผล คือ การกำหนดระเบียบแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการวัดผล ส่งเสริมให้ครูดำเนินการวัดผลประเมินผล การเรียนการสอนโดยเน้นการประเมินตามสภาพจริงจากกระบวนการปฏิบัติและผลงาน พัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลให้ได้มาตรฐาน 4) ด้านการนิเทศภายในสถานศึกษา คือ วางแผนจัดระบบนิเทศภายในสถานศึกษาให้เชื่อมโยงกับระบบนิเทศการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จัดระบบการนิเทศงานวิชาการ และการเรียนการสอนภายในสถานศึกษา ดำเนินการนิเทศงานวิชาการและการเรียนการสอนในรูปแบบหลากหลายและเหมาะสมกับสถานศึกษา ประเมินผลการจัดระบบ และกระบวนการนิเทศการศึกษาในสถานศึกษา ติดตาม ประสานงานกับเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการนิเทศงานวิชาการและการเรียนการสอนของสถานศึกษา 5) ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา คือ การวางแผนจัดทำโครงสร้างหลักสูตรและสาระต่างๆ นำหลักสูตรไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนและบริหารจัดการการใช้หลักสูตรให้เหมาะสม ติดตามการใช้หลักสูตร ปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรตามความเหมาะสม เป้าประสงค์นโยบายการศึกษา วัตถุประสงค์ทั่วไป เนื้อหาและจำนวนชั่วโมงสอนแต่ละวิชา วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน วิธีการประเมินผลยุทธศาสตร์การเรียนการสอนยุทธศาสตร์ของหลักสูตร 6) ด้านสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา คือ วางแผนส่งเสริมให้ครูผลิตสื่อ พัฒนาสื่อและนวัตกรรมทางการศึกษา เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ จัดหาสื่อและเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน และพัฒนางานวิชาการประสานความร่วมมือในการผลิตจัดหาจากหน่วยงานต่างที่เกี่ยวข้อง การประเมินผลการใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี การพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 7) ด้านการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา คือ ผู้บริหารและคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา จะต้องร่วมกันวิเคราะห์ มาตรฐานและตัวบ่งชี้ที่มีการประเมินเพื่อจัดทำแผนพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนมีการจัดทำแผนการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อเป็นการส่งเสริมให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ โรงเรียนได้มีการส่งเสริม อบรม เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา ผลการประเมินแนวทางการบริหารวิชาการ สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 โดยผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก และมีความเป็นไปได้ของแนวทางอยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาแนวทางth
dc.subjectการบริหารงานวิชาการth
dc.subjectDevelop guidelinesen
dc.subjectAcademic managementen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of Management of Small School Under Kalasin Primary Education Service Area 3en
dc.titleการพัฒนาแนวทางการบริหารวิชาการ สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59010586046.pdf5.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.