Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/836
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorYuwadee Sangkhantreeen
dc.contributorยุวดี แสงขันตรีth
dc.contributor.advisorBoonchom Srisa-arden
dc.contributor.advisorบุญชม ศรีสะอาดth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-06-08T14:06:45Z-
dc.date.available2021-06-08T14:06:45Z-
dc.date.issued8/3/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/836-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to study the current and desirable conditions of STEM educational learning management for the schools under the Nong Khai Primary Educational Service Area Office 2, 2) to develop the guidelines for STEM educational learning management for the schools under the Nong Khai Primary Educational Service Area Office 2. This research was divided into 2 phases. Phase 1, investigation the current and desirable conditions of STEM educational learning management for the schools under the Nong Khai Primary Educational Service Area Office 2. The sample group consisted of 285 primary teachers under the Nong Khai Primary Educational Service Area Office 2 By using Krejcie and Morgan formula. Phase 2, develop the guidelines for STEM educational learning management by studying from 3 excellent educational practices institutions were selected using specific criteria based on consideration criteria which educational institutions have developed a full education management is evident and generally accepted; 1) Banmakkhaeng school under the Udonthani Primary Educational Service Area Office 1, 2) Anubanudonthani school under the Udonthani Primary Educational Service Area Office 1, and 3) Phattharabophit school under the Secondary Education Service Area Office 23, five experts assess the development the guidelines for STEM educational learning management for the schools under the Nong Khai Primary Educational Service Area Office 2 that using the interview. The results found that: 1. The current and desirable conditions of STEM educational learning management for the schools under the Nong Khai Primary Educational Service Area Office 2 consists of seven aspects found that the order of desirable conditions of STEM educational learning management for the schools under the Nong Khai Primary Educational Service Area Office 2 descending as follows: 1) Policy formulation and management plan for full education, 2) Development of STEM educational curriculum 3) STEM educational learning management, 4) Supervision and evaluation of STEM educational management, 5) STEM teacher development, 6) STEM development alliance development, and 7) STEM research and development. 2. The development of the guidelines for STEM educational learning management for the schools under the Nong Khai Primary Educational Service Area Office 2 consists of 3 steps; 1) Planning, 2) Implementation, and 3) Monitoring and assessment. The results of the assessment of the development of the guidelines for STEM educational learning management for the schools under the Nong Khai Primary Educational Service Area Office 2 by the experts found that it is suitable at the highest level and the possibility is at the highest level.en
dc.description.abstractการศึกษาวิจัย แนวทางการบริหารจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาสำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2 มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2 2) แนวทางการบริหารจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาสำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2 โดยกระบวนการวิจัยและพัฒนา ประกอบด้วย 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารจัดการแบบสะเต็มศึกษา สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครูโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2 จำนวน 285 คน โดยการคำนวณจากสูตรเครซีและมอร์แกน ผู้เชี่ยวชาญเครื่องมือการวิจัย 5 คน ระยะที่ 2 แนวทางการบริหารจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา โดยการศึกษาจากสถานศึกษาที่มีวิธีปฏิบัติที่ดีเยี่ยม 3 แห่ง โดยการเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์การพิจารณาคือ มีการพัฒนาการบริหารจัดการแบบสะเต็มศึกษาเป็นที่ประจักษ์และยอมรับโดยทั่วกัน ดังนี้ 1) โรงเรียนบ้านหมากแข้ง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 2) โรงเรียนอนุบาลอุดรธานี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 และ 3) โรงเรียนภัทรบพิตร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 23 ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินแนวทางการบริหารจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาสำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2 จำนวน 5 คน โดยใช้เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์     ผลวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาสำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2 ซึ่งประกอบไปด้วย 7 ด้าน พบว่า ลำดับสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารจัดการแบบสะเต็มศึกษาสำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2 เรียงลำดับความสภาพที่พึงประสงค์จากมากไปหาน้อย ได้แก่ 1) การกำหนดนโยบายและแผนการบริหารจัดการแบบสะเต็มศึกษา 2) การพัฒนาหลักสูตรสะเต็มศึกษา 3) การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา 4) การนิเทศและการประเมินผลการบริหารจัดการสะเต็มศึกษา 5) การพัฒนาครูสะเต็ม 6) การสร้างเครือข่ายแนวร่วมพัฒนาสะเต็มศึกษา 7) การวิจัยและพัฒนาสะเต็มศึกษา 2. แนวทางการบริหารจัดการแบบสะเต็มศึกษา สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2 ซึ่งประกอบไปด้วย 3 ขั้นตอน 1) การวางแผน 2) การดำเนินการปฏิบัติ 3) การกำกับติดตามและประเมินผล ผลการประเมินแนวทางการบริหารจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคายเขต 2 โดยผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการบริหารจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาth
dc.subjectแนวทางth
dc.subjectSTEM Educational Learning Managementen
dc.subjectThe Development of the Guidelinesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Guidelines to Management for STEM Education of Nongkhai Primary Educational Area Office 2en
dc.titleแนวทางการบริหารจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาสำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59030580044.pdf4.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.