Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/849
Title: Development of a Flipped Classroom with Web Based Instruction Entitled "Motion in 2 Dimensions" to Analytical Thinking Ability for Matthayomsuksa 4 Student
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ห้องเรียนกลับด้านร่วมกับบทเรียนบนเว็บ เรื่อง การเคลื่อนที่ 2 มิติ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 
Authors: Pattawan Prathumdee
ปัทวรรณ ประทุมดี
Kanyarat Sonsupap
กันยารัตน์ สอนสุภาพ
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: แนวคิดห้องเรียนกลับด้าน
บทเรียนบนเว็บ
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์
Flipped Classroom
Web Baseb Instruction
Analytical Thinking Ability
Issue Date:  26
Publisher: Mahasarakham University
Abstract:          The objectives of study are 1) to develop the Flipped classroom learning with web-based instruction entitled “Motion in 2 dimensions” of Mathayomsuksa 4 student’s activities on at efficiency to 75/75  2) to compare the results Achievement Between pretest and posttest. 3) to compare the results analytical thinking posttest. The sample obtained using research consisted of 34 students in Mathayomsuksa 4 by purposive Sampling. The instruments were lesson plan, achievement test, and analytical thinking ability test. The statistics analyze data using percentage, mean, standard division and t-test independen.           The results of study revealed that 1) The efficiency of Flipped classroom learning with web-based instruction were 87.04 / 79.39 2) The students Achievement by using Flipped classroom learning with web-based instruction are posttest higher pretest statistically significant at 0.01 3) The students analytical thinking first and second were percentage 66.50 and 87.72  so students with posttest higher pretest.
         การวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ห้องเรียนกลับด้านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4  เรื่อง การเคลื่อนที่ 2 มิติ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียน 3) เพื่อศึกษาความสามารถในการคิดวิเคราะห์หลังเรียนของนักเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ปีการศึกษา 2/2562 จำนวน 34 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ห้องเรียนกลับด้านร่วมกับบทเรียนบนเว็บ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ 3) แบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบสมมติฐาน          ผลการวิจัยพบว่า 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ห้องเรียนกลับด้านร่วมกับบทเรียนบนเว็บมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 87.04 / 79.39 ซึ่งสูงกว่าที่กำหนดไว้ 2) นักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ห้องเรียนกลับด้านร่วมกับบทเรียนบนเว็บมีผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) นักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ห้องเรียนกลับด้านร่วมกับบทเรียนบนเว็บมีคะแนนความสามารถในการคิดวิเคราะห์ครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 เฉลี่ยร้อยละ 66.50 และ 87.72 ซึ่งความสามารถในการคิดวิเคราะห์หลังการเรียนสูงขึ้น
Description: Master of Education (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/849
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61010556023.pdf2.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.