Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/859
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSupawan Tongladen
dc.contributorศุภวรรณ ทองลาดth
dc.contributor.advisorPacharawit Chansirisiraen
dc.contributor.advisorพชรวิทย์ จันทร์ศิริสิรth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-06-08T14:12:07Z-
dc.date.available2021-06-08T14:12:07Z-
dc.date.issued2/3/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/859-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe research objectives were 1) to study the current and desirable states and the priority need index of students’ self-disciplines reinforcement of Primary Educational Service Area, Kalasin 3 2) to study the guidelines of students’ self-disciplines reinforcement of Primary Educational Service Area, Kalasin 3. The research was divided into 2 stages. The first stage was to study the current and desirable states of students’ self-disciplines reinforcement of Primary Educational Service Area, Kalasin 3 and the samples were directors and teachers who are responsible for the students’ self-disciplines from 132 schools with 264 key informants by stratified random sampling technique. The research instrument was questionnaire. The statistics used in data analysis were arithmetic mean, standard deviation. and 2) to develop the guidelines of students’ self-disciplines reinforcement of Primary Educational Service Area, Kalasin 3. The interview from best practice obtained 3 directors and 3 teachers by purposive sampling. The research instruments were semi-structure interview form and the assessment form in appropriation and possibility of guidelines by purposive sampling. The statistics used in data analysis were arithmetic mean, standard deviation. The results as follow; 1. The current states as a whole was at the medium level while the desirable state of students’ self-disciplines reinforcement of Primary Educational Service Area, Kalasin 3 as a whole was the very 2. The guidelines of students’ self-disciplines reinforcement of Primary Educational Service Area, Kalasin 3, the result of the assessment in appropriation and possibility as a whole was was high level; consisted of 4 components; commitment 4 approaches, patience 4 approaches, responsibility 6 approaches and self-confidence 4 approaches.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน  สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นการเสริมสร้างวินัยในตนเองของนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 2) พัฒนาแนวทางการเสริมสร้างวินัยในตนเองของนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3  การวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน  สภาพที่พึงประสงค์ การเสริมสร้างวินัยในตนเองของนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้รับผิดชอบงานวินัยของนักเรียน  จำนวน 132 โรงเรียน จำนวน  264  คน  ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระยะที่ 2 พัฒนาแนวทางการเสริมสร้างวินัยในตนเองของนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 จากการศึกษาสถานศึกษาที่มีการปฏิบัติที่ดีเยี่ยม Best Practice จำนวน 3 โรงเรียน โรงเรียน ละ 2 คน รวมทั้งสิ้น 6 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 3 คน และหัวหน้าฝ่ายบริหารงานทั่วไป หรือครูผู้รับผิดชอบงานวินัยของนักเรียน จำนวน 3 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์กึ่งมีโครงสร้าง การประเมินแนวทางโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 7 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง สภาพที่พึงประสงค์ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด 2. การพัฒนาแนวทางการเสริมสร้างวินัยในตนเองของนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 มีผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีแนวทางการพัฒนาตามองค์ประกอบวินัยในตนเองของนักเรียน 4 องค์ประกอบ ดังรายละเอียด ดังนี้ ความมุ่งมั่น 4 แนวทาง ความอดทน 4 แนวทาง ความรับผิดชอบ 6 แนวทาง และความเชื่อมั่นในตนเอง 4 แนวทางth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนาth
dc.subjectแนวทางth
dc.subjectการเสริมสร้างวินัยในตนเองของนักเรียนth
dc.subjectDevelopingen
dc.subjectGuidelinesen
dc.subjectStrengthening Students’ Self- Disciplineen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleDeveloping Guidelines for Strengthening Students' Self-Discipline Under the Office of Kalasin Primary Education Area 3en
dc.titleการพัฒนาแนวทางการเสริมสร้างวินัยในตนเองของนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62010586058.pdf5.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.