Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/869
Title: Effect of Germination on Melatonin and It’s Derivatives in Rice
ผลของการงอกต่อปริมาณเมลาโทนินและอนุพันธ์ของเมลาโทนินในข้าว
Authors: Jakkaphan Kaennok
จักรพันธ์ แก่นนอก
Anuchita Moongngarm
อนุชิตา มุ่งงาม
Mahasarakham University. The Faculty of Technology
Keywords: เมลาโทนิน
เซโรโทนิน
ทริปโตแฟน
ข้าวงอก
Melatonin
Serotonin
Tryptophan
Rice germination
Issue Date:  30
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: Melatonin is a hormone in the nervous system synthesize in the pineal gland of the brain. Melatonin in human plays an important role in regulating the biological rhythm of the body, improve the sleeping quality, and exhibits antioxidant activity. Melatonin can also be found in plants, but the concentration in plant is low. Therefore, the germination as one of several processes that can increase the amount of bioactive compounds in the plants was applied to investigate the effect of germination on changes of melatonin and its derivative content in rice. Five rice cultivars (paddy rice) including jasmine rice, waxy rice, red rice, purple waxy rice and riceberry rice were used. Rice samples were soaked for 24 h and then germinated in room temperature for four days. The germinated rice of each cultivar was sampled and took out every day. The samples were dried and milled to obtain white rice, brown rice and rice bran prior to grinding to fine particle before analysis for melatonin and derivatives. The results showed that rice cultivars and germination time affected the content of melatonin and It’s derivative were significantly increased during germination. The highest melatonin content was found in red rice 734.71 (ng/g). The serotonin and tryptophan contents were 105.79 ng/g and 686.75 ng/g found in waxy rice and Jasmine rice respectively. For the study on effect of germination time, the highest amount of melatonin was significantly increase after germinated for 2 -3 days in all cultivars.
เมลาโทนินเป็นฮอร์โมนที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นจากต่อมไพเนียล เมลาโทนินมนุษย์นั้นมีบทบาทที่ความสำคัญในการควบคุมระบบการทำงานของร่างกาย ช่วยส่งเสริมการนอนหลับ และช่วยส่งเสริมการทำงานของสารต้านอนุมูลอิสระ นอกจากนี้ยังพบว่าในพืชก็มีสารเมลาโทนินเช่นเดียวกัน แต่พบว่าในพืชนั้นสารเมลาโทนินมีปริมาณน้อยมาก อย่างไรก็ดีการงอกเป็นหนึ่งในกระบวนการเพิ่มปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพในพืช ดังนั้นจึงนำการงอกมาศึกษาว่าส่งผลอย่างไรต่อปริมาณเมลาโทนินและอนุพันธุ์ของเมลาโทนินในข้าว พันธุ์ข้าวที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ข้าวหอมมะลิ, ข้าวเหนียว กข.6, ข้าวเจ้าแดง, ข้าวเหนียวดำ และข้าวไรซ์เบอร์รี่ ตัวอย่างข้าวจะถูกน้ำมาแช่น้ำเป็นระยะเวลา 24 ชั่วโมง และนำมางอกที่อุณหภูมิเป็นระยะเวลา 4 วัน ในระหว่างการงอกจะทำการเก็บตัวอย่างของข้าวทุกวันตลอดระยะเวลาการศึกษา นำมาอบให้แห้งแล้วนำไปสีเพื่อให้ได้ข้าวขาว ข้าวกล้อง และรำ ก่อนนำไปบดแล้วนำมาวิเคราะห์หาปริมาณเมลาโทนินและอนุพันธุ์ของเมลาโทนิน ผลของการศึกษาพบว่าการงอกส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของปริมาณเมลาโทนินและอนุพันธ์ของเมลาโทนิน โดยปริมาณเมลาโทนินสูงที่สุดอยู่ที่ 734.71 ng/g พบในข้าวเจ้าแดง ปริมาณเซโรโทนินสูงที่สุดอยู่ที่ 105.79 ng/g พบในข้าวเหนียว กข.6 และปริมาณทริปโตเฟนสูงที่สุดอยู่ที่ 686.75 ng/g พบในข้าวหอมมะลิ ระยะเวลาในการงอก 2 – 3 วันส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณเมลาโทนินและอนุพันธ์อย่างมีนัยสำคัญ 
Description: Master of Science (M.Sc.)
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/869
Appears in Collections:The Faculty of Technology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58010851001.pdf2.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.