Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/942
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSutthipong Saengwisesen
dc.contributorสุทธิพงษ์ แสงวิเศษth
dc.contributor.advisorMontri Srirajlaoen
dc.contributor.advisorมนตรี ศรีราชเลาth
dc.contributor.otherMahasarakham University. Faculty of Fine - Applied Arts and Cultural Scienceen
dc.date.accessioned2021-09-05T08:52:51Z-
dc.date.available2021-09-05T08:52:51Z-
dc.date.issued13/8/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/942-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstract"Energy" is one of the key factors in driving economic growth and energy production in the face of increased competition. This research is a qualitative research and a mixed-format study model. Quantitative research. Quantitative Research is the purpose of research. 1) To study the history of gas stations before 1997.2) To study the change of gas station after 1997. 3) To study the transformation of gas stations into new cultures.           The research found that History of the gas station in Nakhon Ratchasima started by Shell of Thailand Co., Ltd. and the starting point in Nakhon Ratchasima, followed by PTT Public Company Limited and Bangchak Petroleum Public Company Limited, respectively. The pre-1997 service stations and the role of the gas station before 1997 found the product. And services. Factors contributing to the transformation of the gas station into a new culture. Social factors And the changes in values. Social change and cultural change result in fuel service station business changing products and services in line with changes.en
dc.description.abstract“พลังงาน” นับเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดประการหนึ่งในการขับเคลื่อนการพัฒนาการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วทางเศรษฐกิจและพลังงานเป็นการสะท้อนความเป็นจริงของการที่ต้องเผชิญกับการแข่งขันที่สูงขึ้น การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และมีรูปแบบการศึกษาเก็บข้อมูลแบบผสมรูปแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) มีความมุ่งหมายของงานวิจัย 1) เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของสถานีบริการน้ำมันก่อน พ.ศ. 2540 2) เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงสถานีบริการน้ำมันหลัง พ.ศ. 2540 และ3) เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงสถานีบริการน้ำมันสู่วัฒนธรรมใหม่ ผลการวิจัยพบว่าประวัติความเป็นมาของสถานีบริการน้ำมันจังหวัดนครราชสีมาเริ่มต้น โดยบริษัทเชลล์แห่งประเทศไทยเป็นบริษัทแรกเริ่มสร้างสถานีบริการน้ำมันในจังหวัดนครราชสีมาต่อมาเป็นบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ต่อมาเป็นบริษัทบางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ พบลักษณะสถานีบริการน้ำมันยุคก่อน พ.ศ. 2540 ด้านบทบาท ด้านผลิตภัณฑ์ อีกทั้งยังพบด้านบริการ ลักษณะและการเปลี่ยนแปลงของสถานีบริการน้ำมัน หลัง พ.ศ. 2540 บทบาทสถานีบริการน้ำมันยุคหลัง พ.ศ. 2540 พบประเด็นด้านสังคมและด้านวัฒนธรรม ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสถานีบริการน้ำมันสู่วัฒนธรรมใหม่พบปัจจัยทางด้านสังคม ปัจจัยของการเปลี่ยนแปลงด้านค่านิยมการเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรสู่รูปแบบสถานีบริการน้ำมันแบบใหม่เป็นผลมาจาก การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมส่งผลให้ธุรกิจการบริการสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงเกิดการเปลี่ยนแปลงด้านผลิตภัณฑ์และบริการให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectสถานีบริการน้ำมันth
dc.subjectการเปลี่ยนแปลงth
dc.subjectวัฒนธรรมใหม่th
dc.subjectGas stationsen
dc.subjectchangesen
dc.subjectnew cultureen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleGas stations and changes to a new culture: Nakhon Ratchasimaen
dc.titleสถานีบริการน้ำมันกับการเปลี่ยนแปลงสู่วัฒนธรรมแบบใหม่ : นครราชสีมาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Fine and Applied Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56012160511.pdf4.91 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.