Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/956
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Butsaraphon Natphong | en |
dc.contributor | บุษราพร เนตรผง | th |
dc.contributor.advisor | Wannasakpijitr Boonserm | en |
dc.contributor.advisor | วรรณศักดิ์พิจิตร บุญเสริม | th |
dc.contributor.other | Mahasarakham University. The Faculty of Environment and Resource Studies | en |
dc.date.accessioned | 2021-09-05T09:01:18Z | - |
dc.date.available | 2021-09-05T09:01:18Z | - |
dc.date.issued | 14/6/2021 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/956 | - |
dc.description | Master of Science (M.Sc.) | en |
dc.description | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) | th |
dc.description.abstract | The purposes of this research were to development of Learning plan Use of geographic information systems in Initial Environmental Evaluation to be efficient and effective, to study and compare knowledge, attitude and environmental ethics of students before and after class and to compare knowledge, attitudes and environmental ethics of students with different gender. The sample used in the research were 4st year 104 undergraduate students in Environmental Education program, Faculty of Environment and Resource Studies, Mahasarakham University, which was obtained by purposive sampling. The research instruments were Learning plan Use of geographic information systems in Initial Environmental Evaluation, environmental knowledge test, environmental attitude test and environmental ethics test. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation and hypothesis testing using t-test (One – Way MANOVA, One – Way MANCOVA and Multivariate Test). The results of the research showed that: 1. Learning plan Use of geographic information systems in Initial Environmental Evaluation for undergraduate students were efficiency 91.42 /80.67, the index of effectiveness was 0.7034, meaning that students had increased knowledge and effected students having more learning progress Increased after using the lesson. 2. The students had average score of knowledge, towards the use of GIS attitude and environmental ethics after study higher than before study with statistical significance at the level. 05. 3. There was no difference of average score of knowledge, towards the use of GIS attitude and environmental ethics of The students with different gender (p > .05). | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาแผนการเรียนรู้การใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความรู้ ทัศนคติ และจริยธรรมสิ่งแวดล้อมของนิสิตก่อนและหลังการเรียนรู้ เพื่อเปรียบเทียบความรู้ ทัศนคติ และจริยธรรมสิ่งแวดล้อมของนิสิตที่มีเพศต่างกัน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นิสิตระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาสิ่งแวดล้อมศึกษา คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จำนวน 104 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการเรียนรู้การใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ในการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น แบบทดสอบความรู้ แบบวัดทัศนคติ และแบบวัดจริยธรรมสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับการใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความเหมาะสมค่าดัชนีความสอดคล้อง ค่าความยากง่าย ค่าอำนาจจำแนก ค่าความเชื่อมั่น และการทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ Paired t-test (One–Way MANOVA, One–Way MANCOVA และ Multivariate Test) ผลการศึกษาพบว่า 1. แผนการเรียนรู้การใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นจึงมีประสิทธิภาพ 91.42 /80.67 ประสิทธิผล มีค่าเท่ากับ 0.7034 นิสิตมีความรู้และส่งผลให้นิสิตมีความก้าวหน้าทางการเรียนรู้เพิ่มขึ้นหลังเรียนรู้ 2. นิสิตมีคะแนนเฉลี่ยความรู้ ทัศนคติ และจริยธรรมสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับการใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หลังการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการเรียนรู้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นิสิตที่มีเพศแตกต่างกัน มีความรู้ ทัศนคติ และจริยธรรมสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับการใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ไม่แตกต่างกัน (p > .05) | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Mahasarakham University | |
dc.rights | Mahasarakham University | |
dc.subject | การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ | th |
dc.subject | การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น | th |
dc.subject | ความรู้ | th |
dc.subject | ทัศนคติ | th |
dc.subject | จริยธรรมสิ่งแวดล้อม | th |
dc.subject | Geographic Information System | en |
dc.subject | Initial Environmental Evaluation | en |
dc.subject | knowledge | en |
dc.subject | attitude | en |
dc.subject | Environmental ethics | en |
dc.subject.classification | Environmental Science | en |
dc.title | Application of geographic information system in the Initial Environmental Evaluation for Undergrauate students | en |
dc.title | การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น สำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | The Faculty of Environment and Resource Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62011750002.pdf | 3.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.