Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/982
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorLaiat Wongphummueangen
dc.contributorละเอียด วงศ์ภูมิเมืองth
dc.contributor.advisorAraya Piyakunen
dc.contributor.advisorอารยา ปิยะกุลth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:27Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:27Z-
dc.date.issued16/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/982-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThe purpose of this research were 1) to examine the components, indicators and to develop a multidimensional scale of collaborative problem solving skills for junior high  school students. The research sample were 513 in junior school students, sample by stratified random sampling method. 2) to develop the training program for enhancing collaborative problem solving skills for junior high school students, 5 experts and 32 students for trying out the training program. 3) to study the effects of collaborative problem solving skills training program. The sample group consisted of 30 junior high school students, sample by Cluster Random Sampling method. The datas was analyzed by percentage, mean, standard deviation, t-test for dependent Samples. The findings were as follows: 1. There were 2 factors and 5 indicators of collaborative problem solving skills and 27 items in the questionnaire. The results from the structural validity of the multidimensional model revealed the statistical value of G2 lower than that of the unidimensional model (G2 = 19,950.157 and 19,963.314, respectively). The AIC value of the multidimensional model was lower than that of the unidimensional model (AIC = 20,064.157 and 20,073.314, respectively). The result of the statistical hypothesis test with chi-square revealed more consistency between the multidimensional model and the empirical data than that of the unidimensional model (G2 = 13.157, df = 2, = .01). 2. The training program was 14 activities, the average score of each item was between 4.2–5.0 and the average of every activity was at 4.58 The level of training program was in the highest level. 3. The effects of Collaborative Problem Solving Skills training program were as follows: Students had a higher average score after participating in the activities than before significantly at .05.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้และพัฒนาแบบวัดพหุมิติทักษะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มเป้าหมายในการศึกษาองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ คือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 7 คน และตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 513 คน สุ่มตัวอย่างที่แบบแบ่งชั้นภูมิ วิเคราะห์ใช้ค่าสถิติ G2 เกณฑ์สารสนเทศ c2  OUTFIT MNSQ INFIT MNSQ และ EAP Reliability 2) พัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้เชียวชาญ 5 คน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 32 คน และ 3) ศึกษาผลการใช้โปรแกรมฝึกอบรมเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ตัวอย่างที่ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 30 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ x̅, S.D. และ t-test for dependent Samples ผลการวิจัย พบว่า 1. องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ทักษะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ มี 2 องค์ประกอบ 5 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) ทักษะกระบวนการทางสังคม มี 3 ตัวบ่งชี้ คือ 1.1) ทักษะความร่วมมือ 1.2) ทักษะการใช้มุมมอง 1.3) ทักษะการใช้กฎเกณฑ์ทางสังคม 2) ทักษะกระบวนการคิด มี 2 ตัวบ่งชี้ คือ 2.1) ทักษะการควบคุมงาน 2.2) ทักษะการเรียนรู้และสร้างองค์ความรู้ และได้แบบวัดพหุมิติทักษะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ จำนวน 27 ข้อ มีค่าสถิติ G2 แบบพหุมิติ น้อยกว่า แบบเอกมิติ (G2  เท่ากับ 19,950.157 และ 19,963.314 ตามลำดับ) มีค่า AIC น้อยกว่า แบบเอกมิติ (AIC = 20,064.157 และ 20,073.314 ตามลำดับ) และจากการทดสอบสมมติฐานทางสถิติด้วยสถิติทดสอบไคสแควร์ โมเดลการวัดแบบพหุมิติมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์มากกว่าโมเดลการวัดแบบเอกมิติ (c2 = 13.157, df = 2, a = .01) 2. โปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ มีจำนวน 14 กิจกรรม พบว่า โปรแกรมการฝึกอบรมดังกล่าว มีคะแนนเฉลี่ยแต่ละรายการอยู่ในเกณฑ์ระหว่าง 4.2-5.0 และมีค่าเฉลี่ยทุกกิจกรรมเท่ากับ 4.58 มีระดับความเหมาะสมของโปรแกรมการฝึกอบรมอยู่ในระดับมากที่สุด 3. ผลการใช้โปรแกรมฝึกอบรมเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น พบว่า นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ย หลังการเข้าร่วมกิจกรรมตามโปรแกรมฝึกอบรมสูงกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรมตามโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0th
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectแบบวัดพหุมิติth
dc.subjectทักษะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือth
dc.subjectMultidimensional Testen
dc.subjectCollaborative Problem Solving Skillsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of Training Program for Enhancing Collaborative Problem Solving Skills  for Junior High School Studentsen
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57010564006.pdf6.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.