Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/984
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKritsada Phochairaten
dc.contributorกฤษฎา โพธิ์ชัยรัตน์th
dc.contributor.advisorTharinthorn Namwanen
dc.contributor.advisorธรินธร นามวรรณth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:27Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:27Z-
dc.date.issued24/5/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/984-
dc.descriptionDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.descriptionการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.abstractThe aims of this research were: 1) to study internal supervisory guidelines to enhance learning management skill of English for communication secondary schools under Office of the Basic Education Commission; 2) to develop an internal supervision model to enhance to enhance learning management skill of English for communication secondary schools under Office of the Basic Education Commission; and 3) to evaluate the internal supervision model to enhance to enhance learning management skill of English for communication secondary schools under Office of the Basic Education Commission. Research methodology used was R & D (Research and Development). It was carried out in 3 phases: Phase 1, the study of internal supervisory guidelines to enhance learning management skill of English for communication secondary schools under Office of the Basic Education Commission; Phase 2, the development of an internal supervisory model to enhance learning management skill of English for communication secondary schools under Office of the Basic Education Commission; and Phase 3, the evaluation of the model of supervision to enhance learning management skill of English for communication secondary schools under the Office of the Basic Education Commission. The results of the study were as follows: 1. The supervisory guidelines to enhance learning management skill of English for communication secondary schools under Office of the Basic Education Commission revealed 4 key components i.e. 1) the context of planning; 2) the context of supervising ; 3) the context of evaluating; and 4) the context of reflecting. 2. The effects of development of an internal supervisory model to enhance learning management skill of English for communication secondary schools under Office of the Basic Education Commission found it was consisted of: 1.the principles of the model; 2. the purposes of the model; 3. the goals of the model; and 4. the supervision process; or the PSER Model, including 1) the planning consisted of 7 indicators; 2) the supervising consisted of 9 indicators; 3) the evaluating consisted of 4 indicators; and 4) the reflecting consisted of 4 indicators; 5. the assessment of the model; and 6. the conditions for the success was appropriate and feasible at a high level.  3. The results of the evaluation of the supervision model to enhance learning management skill of English for communication in secondary schools under Office of the Basic Education Commission revealed that 1) the internal supervision model to enhance learning management skill of English for communication secondary schools under Office of the Basic Education Commission was overall appropriate at a high level; 2) the internal supervisory model to enhance learning management skill of English for communication secondary schools under Office of the Basic Education Commission was feasible as a whole at a high level; and 3) the internal supervisory model to enhance learning management skill of English for communication secondary schools under the Office of the Basic Education Commission was overall useful at a high level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการนิเทศภายในที่เสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในที่เสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) เพื่อประเมินรูปแบบการนิเทศภายในที่เสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานระเบียบวิธีวิจัยใช้การวิจัยและพัฒนา (Research and Development) โดยดำเนินการเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 การศึกษาแนวทางการนิเทศภายในที่เสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในที่เสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะที่ 3 การประเมินรูปแบบการนิเทศภายในที่เสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. แนวทางการนิเทศภายในที่เสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่ามีองค์ประกอบสำคัญ 4 องค์ประกอบได้แก่ 1) ด้านการเตรียมการนิเทศ (Planning) 2) ด้านการดำเนินการนิเทศ (Supervising) 3) ด้านการประเมินผลการนิเทศ (Evaluating) และ4) ด้านการสะท้อนผลการนิเทศ (Reflecting) 2. ผลการพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในที่เสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า รูปแบบการนิเทศภายในที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการนิเทศ จาก ผู้ทรงคุณวุฒิ ได้แก่ 1) หลักการของรูปแบบ 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3) เป้าหมายของรูปแบบ 4) กระบวนการนิเทศ (PSER Model) ประกอบด้วย 4.1) ด้านการเตรียมการนิเทศ (Planning) มี 7 ตัวชี้วัด 4.2) การดำเนินการนิเทศ (Supervising) มี 8 ตัวชี้วัด และ 4.3) การประเมินผลการนิเทศ (Evaluating) มี 4 ตัวชี้วัด 4.4) การสะท้อนผลการนิเทศ (Reflecting) มี 4 ตัวชี้วัด 5) การประเมินรูปแบบ และ 6) เงื่อนไขความสำเร็จ มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก 3. ผลการประเมินรูปแบบการนิเทศภายในที่เสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า 1) รูปแบบการนิเทศภายในที่เสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความเหมาะสม  โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) รูปแบบการนิเทศภายในที่เสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความเป็นไปได้ โดยรวมอยู่ในระดับมาก 3) รูปแบบการนิเทศภายในที่เสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความเป็นประโยชน์ โดยรวมอยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนารูปแบบth
dc.subjectการนิเทศภายในth
dc.subjectทักษะการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารth
dc.subjectDevelopment of a Modelen
dc.subjectInternal Supervisionen
dc.subjectLearning Management Skill of English for Communicationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development of an Internal Supervision Model to Enhance Learning Management Skill of English for Communication Secondary Schools under Office of the Basic Education Commissionen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในที่เสริมสร้างทักษะการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57010566001.pdf12.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.