Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/985
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAmnuay Puttacharten
dc.contributorอำนวย พุทธชาติth
dc.contributor.advisorKarn Ruangmontrien
dc.contributor.advisorกาญจน์ เรืองมนตรีth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-09-05T09:26:28Z-
dc.date.available2021-09-05T09:26:28Z-
dc.date.issued20/5/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/985-
dc.descriptionDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.descriptionการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.abstractThe aims of this research were: 1) to study supervisory guidelines to enhance instruction of vocational and career skills developament for educational opportunity expansion schools under the Office of the Basic Education Commission; 2) to develop a model for supervision to enhance instruction of vocational and career skills development for educational opportunity expansion schools under the Office of the Basic Education Commission; and 3) to evaluate the model of supervision to enhance instruction of vocational and career skills development for educational opportunity expansion schools under the Office of the Basic Education Commission. Research methodology used was R & D (Research and Development). It was carried out in 3 phases: Phase 1, the study of supervisory guidelines to enhance instruction of vocational and career skills development for educational opportunity expansion schools under the Office of the Basic Education Commission; Phase 2, the development of a supervisory model to enhance instruction of vocational and career skills development for educational opportunity expansion schools under the Office of the Basic Education Commission; and Phase 3, the evaluation of the model of supervision to enhance instruction of vocational and career skills development for educational opportunity expansion schools under the Office of the Basic Education Commission. The results of the study were as follows: 1. The supervisory guidelines to enhance instruction of vocational and career skills development for educational opportunity expansion schools under the Office of the Basic Education Commission revealed 4 key components i.e. 1) the context of supervision; 2) the orientation and supervision process ; supervision; and 4) the empowerment of success. 2. The effects of development of a supervisory model to enhance instruction of vocational and career skills development for educational opportunity expansion schools under the Office of the Basic Education Commission found it was consisted of: 1.the principles of the model; 2. the purposes of the model; 3. the goals of the model; and 4. the supervision process; or the CORE Model, including 1) the context with 8 indicators; 2) the orientation and supervision process with 9 indicators; 3) the reflection of the supervision with 4 indicators; and 4) the empowerment of success with 8 indicators; 5. the assessment of the model; and 6. the conditions for the success were with the appropriate and feasible at a high level. 3. The results of the evaluation of the supervision model to enhance instruction of vocational and career skills development for educational opportunity expansion schools under the Office of the Basic Education Commission revealed that 1) the supervision model to enhance instruction of vocational and career skills development for educational opportunity expansion schools under the Office of the Basic Education Commission was appropriate as a whole at a high level; 2) the supervisory model to enhance instruction of vocational and career skills development for educational opportunity expansion schools under the Office of the Basic Education Commission was feasible as a whole at a high level; and 3) the supervisory model to enhance instruction of vocational and career skills development for educational opportunity expansion schools under the Office of the Basic Education Commission was useful as a whole at a high level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการนิเทศเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพและการมีงานทำ สำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการนิเทศเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพและการมีงานทำ สำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) เพื่อประเมินรูปแบบการนิเทศเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพและการมีงานทำ สำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานระเบียบวิธีวิจัยใช้การวิจัยและพัฒนา (Research and Development) โดยดำเนินการเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 การศึกษาแนวทางการนิเทศเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพและการมีงานทำ สำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการนิเทศเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพและการมีงานทำ สำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะที่ 3 การประเมินรูปแบบการนิเทศเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพและการมีงานทำ สำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. แนวทางการนิเทศเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพและการมีงานทำ สำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า มีองค์ประกอบสำคัญ 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ด้านบริบทการนิเทศ (Context) 2) ด้านทิศทางและกระบวนการนิเทศ (Orientation) 3) ด้านการสะท้อนผลการนิเทศ (Reflection) และ 4) ด้านการเสริมพลังสู่ความสำเร็จ (Empowerment) 2. ผลการพัฒนารูปแบบการนิเทศเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพ และการมีงานทำ สำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า รูปแบบการนิเทศที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการนิเทศ จาก ผู้ทรงคุณวุฒิ ได้แก่ 1) หลักการของรูปแบบ 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3) เป้าหมายของรูปแบบ 4) กระบวนการนิเทศ (CORE Model) ประกอบด้วย 4.1) บริบทการนิเทศ (Context) มี 8 ตัวชี้วัด 4.2) ทิศทางและกระบวนการนิเทศ (Orientation) มี 9 ตัวชี้วัด 4.3) การสะท้อนผลการนิเทศ (Reflection) มี 4 ตัวชี้วัด และ 4.4) การเสริมพลังสู่ความสำเร็จ (Empowerment) มี 8 ตัวชี้วัด 5) การประเมินรูปแบบ และ 6) เงื่อนไขความสำเร็จ มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก 3. ผลการประเมินรูปแบบการนิเทศเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพและการมีงานทำ สำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า 1) รูปแบบการนิเทศเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพและการมีงานทำ สำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความเหมาะสม โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) รูปแบบการนิเทศเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพและการมีงานทำ สำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความเป็นไปได้ โดยรวมอยู่ในระดับมาก 3) รูปแบบการนิเทศเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพและการมีงานทำ สำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความเป็นประโยชน์ โดยรวมอยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการพัฒนารูปแบบth
dc.subjectการนิเทศth
dc.subjectทักษะอาชีพและการมีงานทำth
dc.subjectDevelopment of Modelen
dc.subjectSupervisionen
dc.subjectVocational and Career Skillsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment of Supervision Model for Enhancing Instruction of Vocational and Career Skills Development for Educational Opportunity Expansion Schools under the Office of the Basic Education Commissionen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการนิเทศเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะอาชีพและการมีงานทำ สำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57010566009.pdf14.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.