Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1927
Title: Rhetorical Moves of Applied Linguistics Research Article Abstracts in Scopus- Indexed Journals: Contrastive Analysis of the Three Research Approaches
การวิเคราะห์อัตถภาคของบทคัดย่อบทความวิจัยสาขาภาษาศาสตร์ประยุกต์ในวารสารวิชาการที่อยู่ในฐานข้อมูล Scopus: การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างวิธีการวิจัยที่แตกต่างกัน
Authors: Sattra Maporn
ศาสตรา มาพร
Intisarn Chaiyasuk
อินธิสาร ไชยสุข
Mahasarakham University
Intisarn Chaiyasuk
อินธิสาร ไชยสุข
intisarn@msu.ac.th
intisarn@msu.ac.th
Keywords: อัตถภาค
วิธีการวิจัย
บทคัดย่อ
Rhetorical move
research approach
abstract
Issue Date:  27
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: Although there are a large number of research articles published in high-impact international linguistics journals, there is a lack of studies examining the rhetorical move of their abstracts in different research approaches. To address this gap, this study analyzed 54 research article abstracts in applied linguistics Scopus-Indexed journals published between 2012 and 2022, employing model of Hyland (2000) to identify rhetorical moves. To analyze the data, the frequencies and percentages of rhetorical moves used in quantitative, qualitative, and mixed methods research articles were employed. The results showed that the moves of Purpose (P) and Product (Pr) occupied the largest portion of the collected research article abstracts. Furthermore, the data revealed 23 rhetorical move patterns in the dataset, indicating that linguistics researchers in this study follow model of Hyland (2000) and also use several move patterns.
มีบทความวิจัยจำนวนมากที่ตีพิมพ์ในวารสารสาขาภาษาศาสตร์ที่มีชื่อเสียง การศึกษาด้านการวิเคราะห์อัตถภาคของบทคัดย่อในงานวิจัยเหล่านั้น ในแง่มุมของวิธีการวิจัยที่แตกต่างกันยังไม่มีการศึกษามากนัก ดังนั้น การศึกษานี้จึงวิเคราะห์บทคัดย่อของบทความวิจัยจำนวน 54 บทคัดย่อในวารสาร ภาษาศาสตร์ประยุกต์ที่ตีพิมพ์ระหว่างปี ค.ศ. 2012 ถึง 2022 ที่อยู่ในฐานข้อมูลของ Scopus ศึกษาโดยใช้โดยใช้แบบจำลองของ Hyland (2000) เพื่อการวิเคราะห์อัตถภาคของบทคัดย่อ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ความถี่และร้อยละของแต่ละอัตถภาค จะถูกแบ่งออกเป็นกลุ่มวิจัยเชิงปริมาณ คุณภาพ และวิธีผสมผสาน ผลการวิจัยพบว่าพบ Purpose (P) และProduct (Pr) มากที่สุดในกลุ่มตัวอย่าง นอกจากนี้ ข้อมูลยังเผยให้เห็นรูปแบบของอัตถภาคจำนวน 23 รูปแบบ ซึ่งบ่งชี้ว่านักวิจัยด้านภาษาศาสตร์ในการศึกษาครั้งนี้มีการใช้รูปแบบของ Hyland (2000) และยังใช้รูปแบบที่หลากหลายเมื่อเขียนบทคัดย่อของบทความวิจัย
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/1927
Appears in Collections:The Faculty of Humanities and Social Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010182002.pdf6.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.