Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/49
Title: | Development of Adventure Game Base on Cybernetics Paradigm for Increasing Playing Engagement : A Case Study of Road Code การพัฒนาเกมผจญภัยบนพื้นฐานของกระบวนทัศน์ไซเบอร์เนติกส์ เพื่อเพิ่มพันธะทางการเล่น |
Authors: | Peerapong Trakulphat พีระพงศ์ ตระกูลแพทย์ Ratanachote Thienmongkol รัตนโชติ เทียนมงคล Mahasarakham University. The Faculty of Informatics |
Keywords: | การพัฒนาเกมแนวทางใหม่ กระบวนทัศน์ไซเบอร์เนติกส์ การเพิ่มพันธะทางการเล่นเกม A new approach to game development Cybernetic Paradigm Game Engagement |
Issue Date: | 24 |
Publisher: | Mahasarakham University |
Abstract: | The objectives of this research included examination and analysis of cybernetic paradigms, development of a new cybernetic-based adventure game and evaluation of the result of prototype games under the usability testing framework. The sample group consisted of game experts who specialize in software development and computer graphics; road and traffic experts; experimental pilot studies and the game testers. The research tools included the following list: 1) specialist interview questions, 2) the prototype game developed from the synthesis, 3) the prototype game developed from cybernetic paradigms, and 4) a game performance appraisal form.
The findings were as follows: 1) As the result of cybernetic paradigms study and analysis, was found that a mixture of action and casual games is required to increase the popularity. The designs need to be separated depending on the game elements, as well as to have its theme to create a story and to design its missions; they must be tested along with the game being developed. A simple linear regression analysis can be adapted to use with cybernetics in assessing a player’s ability, applied artificial intelligence (AI) to a player’s abilities to create an engagement. 2) The development of a new adventure game based on cybernetics helped get a player rating system to adjust the difficulty of the game according to a player’s abilities. 3) The evaluation results of the prototype game under the usability testing framework were overall positive, with a point average 4.07 which meets the objective fulfillment. การทำวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)ศึกษาและวิเคราะห์กระบวนทัศน์ไซเบอร์เนติกส์ 2)เพื่อพัฒนาเกมผจญภัยแนวทางใหม่บนพื้นฐานแนวคิดแบบไซเบอร์เนติกส์ 3) เพื่อประเมินผลสัมฤทธิของเกมต้นแบบภายใต้กรอบแนวคิด Usability test โดยกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านเกม (ออกแบบ ,พัฒนา และคอมพิวเตอร์กราฟฟิก) และด้านจราจร, กลุ่มตัวอย่างทดลองศึกษานำร่องก่อนการใช้งานจริง และกลุ่มผู้ทดสอบเกม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1)แบบสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ 2)ต้นแบบเกมที่พัฒนามาจากการสังเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น 3)ต้นแบบเกมที่พัฒนามาจากกระบวนทัศน์ไซเบอร์เนติกส์ 4)แบบประเมินผลสัมฤทธิ์เกม ผลของการวิจัย 1)ผลการศึกษาและวิเคราะห์กระบวนทัศน์ไซเบอร์เนติกส์ พบว่าเกมผจญภัยแนวทางใหม่ ต้องมีส่วนผสมของเกมต่อสู้และเกมเพื่อความเพลิดเพลินเพื่อเพิ่มความนิยม, การออกแบบจำเป็นต้องแยกไปตามองค์ประกอบเกม, ควรมีเนื้อเรื่องเพื่อใช้ในการออกแบบภารกิจ, ต้องมีการทดสอบเกมในระหว่างการสร้าง และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย สามารถนำมาดัดแปลงเพื่อใช้กับไซเบอร์เนติกส์ ในการประเมินความสามารถของผู้เล่นได้ เพื่อปรับใช้ปัญญาประดิษฐ์ให้มีฝีมือสูสีกับผู้เล่นเพื่อสร้างพันธะทางการเล่น 2)ผลการพัฒนาเกมผจญภัยแนวทางใหม่บนพื้นฐานแนวคิดแบบไซเบอร์เนติกส์ ได้เกมแนวทางใหม่ที่มีระบบประเมินความสามารถของผู้เล่น ปรับระดับความยากของเกมตามความสามารถผู้เล่นได้ 3) ผลประเมินผลสัมฤทธิของเกมต้นแบบภายใต้กรอบแนวคิด Usability test โดยรวมอยู่ในระดับ ดี โดยมีค่าเฉลี่ย 4.07 ตรงตามวัตถุประสงค์ได้เกมผจญภัยแนวทางใหม่ที่สามารถเพิ่มพันธะทางการเล่นได้ |
Description: | Master of Science (M.Sc.) วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) |
URI: | http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/49 |
Appears in Collections: | The Faculty of Informatics |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58011285002.pdf | 6.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.