Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/800
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorOrawan Thongdeeen
dc.contributorอรวรรณ ทองดีth
dc.contributor.advisorBunyat Salien
dc.contributor.advisorบัญญัติ สาลีth
dc.contributor.otherMahasarakham University. The Faculty of Humanities and Social Sciencesen
dc.date.accessioned2021-06-08T13:55:53Z-
dc.date.available2021-06-08T13:55:53Z-
dc.date.issued27/3/2021
dc.identifier.urihttp://202.28.34.124/dspace/handle123456789/800-
dc.descriptionMaster of Arts (M.A.)en
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purpose of this research is to study types of language to semantics of code-switching. to study characteristics and language of code-switching. and to study the Function Semantics of Code-switching the Khamar ethnography group in the Multilingval community Dong Khrang Yai Subdistrict Kasetwisai District of Roi-Et Province. To observation method domain stations the Temple School Fresh Market and Hospital. The participants were divided into three groups based on their age: Teenagers (25-35), Middle-aged person (35-45), and aged-senile (45-65). of forty eight people. The result of this study shows that.            1. The types of language to semantics of code-switching the Khamar ethnography group in the Multilingval community Dong Khrang Yai. The result of had 3 the types of language to semantics. These were Situational code-switching Metaphorical code-switching and Conversational code-switching. The result of types Situational code-switching the percentage showed was 50 % in the domain premises all and groups age. The part Metaphorical code-switching and Conversational code-switching the percentage showed equal was 25%            2. The characteristics and language of code-switching the Khamar ethnography group in the Multilingval community Dong Khrang Yai. The result of had 3  Characteristics the Khamar ethnography group. These were of Intra-sentential switching Inter-sentential switching and Tag switching. The result of Characteristics the Khamar ethnography group of Characteristics Intra-sentential switching the percentage showed was 50 % in the domain premises all and groups age. The part Inter-sentential switching and Tag switching the percentage showed equal was 25 %                       The part Language of code-switching the Khamar ethnography group.  The result of the Khamar ethnography group in Thailand to the Khamar communication Language to the Khamar ethnography group. The Isan Language most code-switching.The Inferior was Language Thai, but of the Khamar ethnography group Language of code-switching in the domain premises all. The other ethnography groups live together in the domains. The Khamar ethnography group communication be a principle use Language Thai into use Khamar Language and Isan Language to Language of code-switching. The Khamar Language ethnography group to Khamar Language the percentage showed was 50 %, The Inferior was Isan Language and Language Thai the percentage showed was 25 %,           3. The Function Semantics of Code-switching of code-switching the Khamar ethnography group in the Multilingval community Dong Khrang Yai. The result of had 8 the functions of language code-switching. These were Clarifications Declaration Interjection Emphasis Request Gratitude Apology and Reiteration. The result suggests that the function for Reiteration that the percentage showed was 100 %; The Inferior was Declaration the percentage showed was 75 %; and the percentage showed  Interjection was 25 % the respectively.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประเภทของภาษาที่มีการสลับ เพื่อศึกษาลักษณะและภาษาในการสลับภาษา และเพื่อศึกษาหน้าที่ของการสลับภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์เขมรในชุมชนหลายภาษา ตำบลดงครั้งใหญ่ อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ด้วยวิธีการสังเกตตามแวดวงสถานที่วัด โรงเรียน ตลาดสด และโรงพยาบาล โดยมีกลุ่มอายุที่แตกต่างกัน ได้แก่ กลุ่มวัยรุ่น (อายุ 25-35) กลุ่มวัยกลางคน (อายุ 35-45 ปี) และกลุ่มวัยชรา (อายุ 45-65 ปี) จำนวน 48 คน ผลการศึกษาพบว่า            1. ประเภทของการสลับภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์เขมรในชุมชนตำบลดงครั่งใหญ่ พบว่า มีประเภทของการสลับภาษา จำนวน 3 ประเภท ได้แก่ การสลับภาษาตามสถานการณ์ การสลับภาษาแบบอุปลักษณ์ และการสลับภาษาในการสนทนา โดยพบว่า ประเภทการสลับภาษาตามสถานการณ์มีจำนวนความถี่มากที่สุดในทุกแวดวงสถานที่และกลุ่มอายุ  คิดเป็นร้อยละ 50 ส่วนประเภทการสลับภาษาแบบอุปลักษณ์และการสลับภาษาในการสนทนา คิดเป็นร้อยละ 25 เท่ากัน            2. ลักษณะและภาษาในการสลับภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์เขมรในชุมชนตำบลดงครั่งใหญ่ พบว่า มีลักษณะการสลับภาษา จำนวน 3 ลักษณะ ได้แก่ การสลับภาษาภายในประโยค การสลับภาษาระหว่างประโยค การสลับภาษาโดยการแทรกคำหรือวลีภายในประโยค โดยพบว่า กลุ่มชาติพันธุ์เขมรมีลักษณะการสลับภาษาภายในประโยคมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 50  ส่วนการสลับภาษาระหว่างประโยค และการสลับภาษาโดยการแทรกคำหรือวลีภายในประโยค คิดเป็นร้อยละ 25 ในทุกแวดวงสถานที่และกลุ่มอายุ                ส่วนภาษาที่ใช้ในการสลับภาษาที่กลุ่มชาติพันธุ์เขมรใช้ในการสลับภาษา พบว่า กลุ่มชาติพันธุ์เขมรในไทยใช้ภาษาเขมรในการสื่อสารกับกลุ่มชาติพันธุ์เขมร โดยมีการใช้ภาษาอีสานมาสลับภาษามากที่สุด รองลงมาคือ ภาษาไทย แต่เมื่อกลุ่มชาติพันธุ์เขมรมาสลับภาษาในแวดวงต่าง ๆ ซึ่งมีกลุ่มชาติพันธุ์อื่นอยู่ร่วมในแวดวงนั้น ๆ กลุ่มชาติพันธุ์เขมรใช้ภาษาไทยกลางในการสื่อสารกันเป็นหลัก แล้วใช้ภาษาเขมรและภาษาอีสานมาสลับภาษา ภาษาที่กลุ่มชาติพันธุ์เขมรคือ ภาษาเขมร คิดเป็น ร้อยละ 50 รองลงมาคือ ภาษาอีสาน และภาษาไทยกลาง คิดเป็นร้อยละ 25 เท่ากัน            3. หน้าที่ของการสลับภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์เขมรในชุมชนตำบลดงครั่งใหญ่ พบว่า หน้าที่ของการสลับภาษา จำนวน 8 หน้าที่ ที่กลุ่มชาติพันธุ์เขมรใช้ในการสลับภาษา ได้แก่ การอธิบาย การแจ้ง การอุทาน การเน้นย้ำ การอ้างขอ การขอบคุณ การขอโทษ และการกล่าวซ้ำ โดยพบว่า หน้าที่ของการสลับภาษา การกล่าวซ้ำ พบมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 100 รองลงมาคือ การแจ้ง คิดเป็นร้อยละ 75 น้อยที่สุดคือ การอุทาน คิดเป็นร้อยละ 25 ตามลำดับth
dc.language.isoth
dc.publisherMahasarakham University
dc.rightsMahasarakham University
dc.subjectการสลับภาษาth
dc.subjectกลุ่มชาติพันธุ์th
dc.subjectประเภทth
dc.subjectลักษณะและภาษาth
dc.subjectหน้าที่การสลับภาษาth
dc.subjectSemantics of Code-Switchingen
dc.subjectEthnic Groupsen
dc.subjectTypesen
dc.subjectCharacteristics and Languageen
dc.subjectFunction Semantics of Code-Switchingen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleCode-Switching of the Khamar Ethnography Group in the Multilingval Community Dong Khrang Yai Subdistrict Kasetwisai District of Roi-Et Provinceen
dc.titleการสลับภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์เขมรในชุมชนหลายภาษา ตำบลดงครั่งใหญ่ อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:The Faculty of Humanities and Social Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58010180009.pdf3.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.