Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/844
Title: Program to Teacher’s Reinforcement for Academic Leadership in the Secondary Educational Service Area Office 27
โปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำทางวิชาการของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต27
Authors: Tewarit Phonchan
เทวฤทธิ์ ผลจันทร์
Peerasak Worrachat
พีระศักดิ์ วรฉัตร
Mahasarakham University. The Faculty of Education
Keywords: โปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำ
ภาวะนำทางวิชาการ
ครู
Program to Reinforcement
Academic Leadership
Teacher
Issue Date:  25
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: This research aims to; 1) study the factors and the needs assessment to Teacher's Reinforcement  for Academic Leadership in the SESAO 27. 2) develop a program to Teacher’s Reinforcement for Academic Leadership in the SESAO 27. The research method was divided  2 phases. Phase 1 study the factors and the needs assessment to Teacher's Reinforcement for Academic Leadership in the SESAO 27. The samples were 348 by using a Taro Yamane formula for calculating the sample size. the sampling size was multistage stage sampling. Phase 2 was to develop a program. the research instrument was an assessment of the program. Data were analyzed by using mean, standard deviation and modified priority index. The results showed that; 1.The overall the factors of academic leadership of teacher was in 3 factors and there were 14 indicators; knowledge, skill and personality, The needs which ordered from highest to least are knowledge, skill and personality. 2.The overall of program to teacher's reinfocement were 4 factors; 1.Objective 2.Content 3.Methodology 4.The evaluation. 
การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและความต้องการจำเป็นของภาวะผู้นำทางวิชาการของครู สังกัดสพม. 27 2) เพื่อสร้างโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำทางวิชาการของครู สังกัดสพม. 27 โดยใช้วิธีดำเนินการวิจัย แบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาองค์ประกอบและความต้องการจำเป็นของภาวะผู้นำทางวิชาการของครู สังกัดสพม. 27 กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 348 คน โดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอนจากการคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย  คือ แบบสอบถาม ระยะที่ 2 พัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำทางวิชาการของครู สังกัดสพม.27 ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิโดยวิธีเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโปรแกรม สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยพบว่า  1. องค์ประกอบภาวะผู้นำทางวิชาการของครู ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ ความรู้ ทักษะและบุคลิกภาพ ความต้องการจำเป็นภาวะผู้นำทางวิชาการของครู สังกัดสพม. 27 โดยเรียงลำดับองค์ประกอบที่มีความต้องการจำเป็นมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด คือ ความรู้ ทักษะและบุคลิกภาพ ตามลำดับ 2. โปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำทางวิชาการของครู สังกัดสพม. 27 มี 4 องค์ปะกอบได้แก่ 1 วัตถุประสงค์/เป้าหมาย 2. เนื้อหา 3. วิธีดำเนินการ และ 4. การวัดและประเมินผล 
Description: Master of Education (M.Ed.)
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/844
Appears in Collections:The Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60010586021.pdf5.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.