Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/894
Title: Guidelines for the Development of Isan Folk Music Bands Secondary Schools in Kalasin Province
แนวทางพัฒนาวงดนตรีพื้นบ้านอีสาน โรงเรียนมัธยมในจังหวัดกาฬสินธุ์
Authors: Kamolchanok Akkaamnuay
กมลชนก อรรคอำนวย
Tanaporn Bhengsri
ธนภร เพ่งศรี
Mahasarakham University. College of Music
Keywords: แนวทางพัฒนา
การอนุรักษ์
ดนตรีพื้นบ้านอีสาน
Development Guidelines
Conservation
Isan Folk Music
Issue Date:  17
Publisher: Mahasarakham University
Abstract: This research is a qualitative research on the development of Isan folk music. A secondary school in Kalasin Province. Objectives of the research 1. To study the conservation of Isan folk music. Secondary schools in Kalasin Province 2. To study guidelines for the development of Isan folk music, secondary schools in Kalasin Province. The research instruments consisted of interviews and field data received from key informants. From the school director of 2 people, a group of 22 workers, consisting of the Isan folk band, Kalasin Phitthayasan School, and the Isan folk band, Anukulnari School, Kalasin province, analyzed the qualitative data in descriptive characteristics according to the specified research objectives and led Offer qualitative research results. The research results are as follows. 1. The conservation of Isan folk music at secondary schools in Kalasin Province found that conservation Isan folk music, a secondary school in Kalasin province, consists of 3 components: 1. The band conservation method. Northeastern folk music 2. The process of conservation of the country band and 3. Problems and obstacles in the conservation Folk music . 2. The guidelines for the development of the Isan folk music band at secondary schools in Kalasin Province were found that There are 4 guidelines for the development of Isan folk music at secondary schools in Kalasin province: Including: 1. Guidelines for the development of musical instruments; 2. Guidelines for the development of presentation styles  3. Guidelines for human resource development and 4. Budgetary development guidelines.
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเกี่ยวกับแนวทางพัฒนาวงดนตรีพื้นบ้านอีสาน โรงเรียนมัธยมในจังหวัดกาฬสินธุ์ ความมุ่งหมายของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาการอนุรักษ์วงดนตรีพื้นบ้านอีสาน โรงเรียนมัธยมในจังหวัดกาฬสินธุ์ 2. เพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนาวงดนตรีพื้นบ้านอีสาน โรงเรียนมัธยมในจังหวัดกาฬสินธุ์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ และข้อมูลภาคสนามโดยได้จากการสัมภาษณ์กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก จากผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน 2 คน กลุ่มผู้ปฏิบัติ จำนวน 22 คน  ซึ่งมีวงดนตรีพื้นบ้านอีสาน โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์ และวงดนตรีพื้นบ้านอีสานโรงเรียนอนุกูลนารี จังหวัดกาฬสินธุ์ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพในลักษณะการพรรณนาตามความมุ่งหมายของการวิจัยที่ตั้งไว้และนำเสนอผลการวิจัยเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยดังนี้ 1. การอนุรักษ์วงดนตรีพื้นบ้านอีสาน โรงเรียนมัธยมในจังหวัดกาฬสินธุ์ พบว่า การอนุรักษ์ดนตรีพื้นบ้านอีสาน โรงเรียนมัธยมในจังหวัดกาฬสินธุ์ มี 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1.วิธีการอนุรักษ์วงดนตรีพื้นบ้านอีสาน 2. ขั้นตอนการอนุรักษ์วงดนตรีพื้นบ้าน และ 3.ปัญหาและอุปสรรคในการอนุรักษ์ดนตรีพื้นบ้าน 2. แนวทางการพัฒนาวงดนตรีพื้นบ้านอีสาน โรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดกาฬสินธุ์ พบว่า แนวทางในการพัฒนาวงดนตรีพื้นบ้านอีสาน โรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดกาฬสินธุ์ มี 4 แนวทาง ได้แก่ 1.แนวทางในการพัฒนาด้านเครื่องดนตรี 2. แนวทางในการพัฒนาด้านรูปแบบการนำเสนอ 3. แนวทางในการพัฒนาด้านบุคลากร และ 4. แนวทางในการพัฒนาด้านงบประมาณ
Description: Master of Music (M.M.)
ดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต (ดศ.ม.)
URI: http://202.28.34.124/dspace/handle123456789/894
Appears in Collections:College of Music

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58012080001.pdf5.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.